dc.contributor.advisor |
ศรีวรรณ ยอดนิล |
|
dc.contributor.advisor |
สุวิชัย โกศัยยะวัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
ทรงพล บุญสุข |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:45:37Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:45:37Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7302 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาในการแสวงหาความรู้ภายใต้ การภาวนา กรณีศึกษา กรรมฐานสายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต 2) ศึกษาวิธีการแสวงหาความรู้ภายใต้การภาวนา กรณีศึกษา กรรมฐานสายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย เชิงคุณภาพ จากการศึกษาเอกสาร และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 30 รูปร่วมกับ การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพปัญหาการแสวงหาความรู้ภายใต้การภาวนา มี 3 ประการ คือ 1) การเจริญกรรมฐานไม่ถูกจริต 2) การเจริญกรรมฐานไม่ถูกวิธี เพราะเจริญวิปัสสนาล้วนโดยไม่มีสมาธิ และ 3) หลักธรรมที่ไม่เอื้อหนุนการเจริญกรรมฐาน คือ อาการสมาธิเสื่อม และวิปัสสนูปกิเลส 2. วิธีการแสวงหาความรู้ภายใต้การภาวนา ของกรรมฐานสายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ใช้การปฏิบัติแบบสมถปุพพังคมวิปัสสนาเป็นส่วนใหญ่ หรือสมถยานิก โดยใช้สมถกรรมฐาน คือ อานาปานสติกรรมฐานเป็นกองหลัก ร่วมกับกรรมฐานกองอื่น ๆ เช่น อสุภกรรมฐาน กายคตานุสติกรรมฐาน เป็นต้น และใช้วิธีม้างกายในการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน โดยส่วนใหญ่ถอยกำลังจากอัปปนาสมาธิมาที่ระดับอุปจารสมาธิเพื่อพิจารณากาย เป็นการเจริญกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน 3. ข้อเสนอแนะต่อการนำไปปฏิบัติ คือ ทำสมาธิถึงระดับฌาน หลังจากนั้นเจริญวิปัสสนา |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม |
|
dc.subject |
กรรมฐาน |
|
dc.subject |
วิปัสสนา |
|
dc.subject |
พระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ |
|
dc.subject |
?d2414-2492 |
|
dc.subject |
สมาธิ |
|
dc.title |
การแสวงหาความรู้ภายใต้การภาวนา : กรณีศึกษากรรมฐานสายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต |
|
dc.title.alternative |
Methods of knowledge quiring under spiritul cultivtion :bA cse study on Phr Ajhn Mun bhuridtt ther medittion |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to 1) study the problems in methods of knowledge acquiring under spiritual cultivation a case study on Phra Ajahan Mun Bhuridatta.Thera meditation 2) study the methods of knowledge acquiring under spiritual cultivation: a case study on Phra Ajahan Mun Bhuridatta Thera meditation. A qualitative researched methodology was used interms of documentary research, in-depth Interview and non-participant observation. The results found that: 1. The problems in methods of knowledge acquiring under spiritual cultivation: a case study on Phra Ajahan Mun Bhuridatta Thera meditation were 3 issues 1) The spiritual cultivation was not sense. 2) The spiritual cultivation was incorrect because of doing pure vipassana without samadhi meditation. 3) The principles that did not support the progress were decline of meditation and dementia. 2. The methods of knowledge acquiring under spiritual cultivation: a case study on Phra Ajahan Mun Bhuridatta Thera meditation used samathayanik by samatha karmasthana were anapanasati karmasthana (mind fulness of breathing) is essentially including asupa and kaikathanussathi karmasthana (consider of body to unbeauty deep skin or mindfulness with regard to the body) etc. and used vipassana karmasthana by manghkai (divided of body). Mostly retreated from attainment concentration samathi to access concentration samathi for regard the body to be a kayanupassana satipatthana (mindfulness of the body). 3. Recommendations for implementation was should do Samadhi meditation to meditative absorption level (appana samathi or contemplation) after that do vipassana meditation. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
การศึกษาและการพัฒนาสังคม |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|