DSpace Repository

ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้คำถามระดับสูงที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเรื่องอาหารกับการดำรงชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Show simple item record

dc.contributor.advisor เชษฐ์ ศิริสวัสดิ์
dc.contributor.advisor นพมณี เชื้อวัชรินทร์
dc.contributor.author จิรัชญา นวนกระโทก
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:45:34Z
dc.date.available 2023-05-12T03:45:34Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7295
dc.description วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดแก้ปัญหา เรื่อง อาหารกับการดำรงชีวิต ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้คำถามระดับสูง ก่อนเรียนและหลังเรียน และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้คำถามระดับสูง หลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนดาราสมุทร ศรีราชา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 1 ห้องเรียน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 49 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้คำถามระดับสูง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลโดยเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหา ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ t-test แบบ Dependent sample และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 โดยใช้ t-test แบบ One sample ผลการวิจัย พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้คำถามระดับสูง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้คำถามระดับสูง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนและสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์
dc.subject วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subject ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.title ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้คำถามระดับสูงที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเรื่องอาหารกับการดำรงชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
dc.title.alternative The effects of lerning mngement using problem–bsed lerning with higher–order questions on lerning chievement in science nd problem solving bility on food nd livelihood of 8 th grde students
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to compare the learning achievement and problem solving ability on food and livelihood of students using problem-based learning with higher-order questions before and after learning, and to compare learning achievement and problem solving ability of students after using problem-based learning with higher-order questions with the 70 percent criteria. The sample consisted of 49 grade eight students who studied in the second semester of 2016 academic year from Darasamutr Sriracha School selected by using cluster random sampling. The research instruments were problem-based learning with higher-order questions lesson plans, learning achievement test and problem solving ability test. All data were analyzed by comparing the pretest and posttest scores using dependent sample t-test and comparing posttest scores with the 70 percent criteria using one sample t-test. The research findings showed that the learning achievement of students after using problem-based learning with higher-order questions was higher than before learning and was higher than the 70 percent criteria with statistically significant at .05 level. Problem solving ability of students after using problem-based learning with higher-order questions was higher than before learning and was higher than the 70 percent criteria with statistically significant at .05 level.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การสอนวิทยาศาสตร์
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account