dc.contributor.advisor |
ภูเบศ เลื่อมใส |
|
dc.contributor.advisor |
ดวงพร ธรรมะ |
|
dc.contributor.author |
หลี่, อาน |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
Yan, Li |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:33:36Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:33:36Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7152 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนการ์ตูนมัลติมีเดียเรื่องการออกเสียง พินอิน วิชาภาษาจีน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1 / E2 เท่ากับ 85/ 85 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การออกเสียงพินอินของภาษาจีนก่อนและหลังเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนการ์ตูนมัลติมีเดีย 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนการ์ตูนมัลติมีเดีย เรื่องการออกเสียง พินอิน วิชาภาษาจีน ผู้วิจัยได้ดำเนินการในลักษณะการวิจัยและพัฒนา โดยมีกระบวนการพัฒนาบทเรียน 5 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์การออกแบบ การพัฒนา การนำไปใช้ และการประเมินบทเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) บทเรียนการ์ตูนมัลติมีเดียเรื่องการออกเสียงพินอิน 2) แบบประเมินคุณภาพ บทเรียนการ์ตูนมัลติมีเดียเรื่องการออกเสียงพินอิน 3) แบบทดสอบวัดการออกเสียงพินอินภาษาจีน ก่อนและหลังเรียน 4) แบบฝึกหัดระหว่างเรียน 5) แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนการ์ตูนมัลติมีเดียเรื่องการออกเสียงพินอิน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1 ของโรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา ในปีการศึกษา 2559 จำนวน 47 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติในการแจกแจงแบบที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า 1) การวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนการ์ตูนมัลติมีเดีย เรื่องการออกเสียงพินอิน โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดีที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.93 ด้านสื่อเทคโนโลยีการศึกษาอยู่ในระดับดี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 2) ผลการวิเคราะห์เพื่อศึกษา ประสิทธิภาพของบทเรียนการ์ตูนมัลติมีเดีย เรื่องการออกเสียงพินอิน เท่ากับ 87.63/ 87.08 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 85/ 85 3) ผลการวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การออกเสียง พินอินของภาษาจีนก่อนและหลังเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนการ์ตูนมัลติมีเดีย เรื่องการออกเสียง พินอิน พบว่า หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ผลการวิเคราะห์ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนการ์ตูนมัลติมีเดียเรื่องการออกเสียงพินอิน พบว่า โดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับพอใจมากที่สุด |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ภาษาจีน -- การออกเสียง |
|
dc.subject |
ภาษาจีน --ตำราสำหรับชนต่างชาติ |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา |
|
dc.subject |
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- การสอนด้วยสื่อ |
|
dc.title |
การพัฒนาบทเรียนการ์ตูนมัลติมีเดียเรื่อง การออกเสียงพินอิน วิชาภาษาจีน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา |
|
dc.title.alternative |
The development of crtoon mutimedi instruction on pronuncition Chinese Pinyin for Prthomsuks 3 Students Assumption College Srirch |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research were to;1) develop a multimedia cartoon lesson on Pinyin pronunciation for Prathomsuksa 3 students. 2) compare scores of Chinese pinyin pronunciation tests before and after learning with multimedia cartoon lesson. 3) study students' satisfaction towards learning with, The researcher was a research and development study consisted of5 steps; analysis, design, development, implementation, and assessment. The instruments used in this research were: 1) multimedia cartoon lesson on Pinyin pronunciation; 2) Pinyin pronunciation test assessment form; 3) pinyin pronunciation test. 5) Student Satisfaction Questionnaire towards Multimedia Cartoon lesson on Pinyin Pronunciation. The research sample was 47 Prathomsuksa 3 students at Assumption College Sriracha, in the academic year 2016. The statistics used for data analysis were mean and standard deviation the results of the research were as follows: 1) The analysis of the quality of multimedia cartoon lesson on Pinyin pronunciation by content experts was atvery good level ( X =4.93). The media utilization was good level ( X =4.47). 2) The efficiency of the lesson were 87.63/ 87.08, which met the criteria set at85/85. 3) The results of the comparison of scoresbefore and after learning with the developed lesson was that the posttest score was higher than the pretest score significant at .05 level. 4) The students' satisfaction toward the multimedia cartoons lesson on Pinyin pronunciation showed that students satisfied at the highest level. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
เทคโนโลยีการศึกษา |
|
dc.degree.name |
การศึกษามหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|