DSpace Repository

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาวิชาเคมี เรื่อง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบวัฎจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ

Show simple item record

dc.contributor.advisor ปริญญา ทองสอน
dc.contributor.advisor เชษฐ์ ศิริสวัสดิ์
dc.contributor.author จารุวรรณ จันทมัตตุการ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:33:32Z
dc.date.available 2023-05-12T03:33:32Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7139
dc.description งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาวิชาเคมี เรื่อง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้ น (5E) ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา และการจัดการเรียนรู้แบบปกติกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนชํานาญสามัคคีวิทยา ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2559 จํานวน 2 ห้องเรียน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage random sampling) แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง จํานวน 35 คน ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้ น (5E) ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา และกลุ่มควบคุม จํานวน 35 คน ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีเรื่อง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส และแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาวิชาเคมี เรื่อง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ANCOVA (Analysis of covariance) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่อง ของแข็ง ของเหลว แก๊สของ นักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาวิชาเคมี เรื่อง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่า กลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.subject การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์
dc.subject เคมี -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.title การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาวิชาเคมี เรื่อง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบวัฎจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยาและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ
dc.title.alternative A comprison of lerning chievement nd Chemistry problem solving skills on “solid liquid nd gs” of Mtthyomsuks 4 Students using 5E inquiry lerning cycle model with Poly’s problem solving process nd conventionl
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to compare Matthayomsuksa 4 students’ Chemistry learning achievement and Chemistry problem solving skills on “Solid Liquid and Gas” using 5E inquiry learning cycle model with Polya's problem solving process and conventional teaching. The samples were selected by using multi-stage random sampling. The participants were Matthayomsuksa 4 students who enrolled in Science-Math program of Chamnansamakkhiwittaya School in the second semester of the 2016 academic year. The study divided students into 2 groups. The first group included 35 students taught by 5E inquiry learning cycle model with Polya's problem solving process and the second group comprised of 35 students taught by a conventional teaching method. The design of this research was a quasi-experimental design. The data was student’s scores collected by using a Chemistry learning achievement test and a Chemistry problem solving skills test. The data was statistically analyzed by using the ANCOVA (Analysis of covariance) test. The results showed that 1) Chemistry learning achievement on “Solid Liquid and Gas” of students in the experimental first group was significantly higher than those in the control group (p< .05). 2) Students’ Chemistry problem solving skills on “Solid Liquid and Gas” in the experimental group was significantly higher than those reported in the control group (p< .05).
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การสอนวิทยาศาสตร์
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account