DSpace Repository

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามแนวคิดของกาเย่เรื่องการใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์พับลิชเชอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

Show simple item record

dc.contributor.advisor ไพโรจน์ เบาใจ
dc.contributor.advisor นคร ละลอกน้ำ
dc.contributor.author วัลลภาภรณ์ มาลาชาสิงห์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:29:45Z
dc.date.available 2023-05-12T03:29:45Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7072
dc.description วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามแนวคิดกาเย่ เรื่อง การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์พับลิชเชอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้สูตร E1/E2 ให้ได้ตามเกณฑ์ 90/90 2) เพื่อศึกษาค่าดัชนีประสิทธิผล 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเมืองพัทยา 2 (เจริญราษฎร์อุทิศ) อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักการศึกษาเมืองพัทยา จำนวน 40 คน ได้จากการสุ่มอย่างง่ายโดยวิธีการจับฉลาก เครื่องมือใช้ศึกษา ได้แก่ 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามแนวคิดกาเย่ เรื่อง การโปรแกรมไมโครซอฟต์พับลิชเชอร์ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบวัดความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานการวิจัยโดยใช้ t-test (Dependent samples) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามแนวคิดกาเย่ เรื่อง การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์พับลิชเชอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 94.67/95.25 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 2) ค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่าเท่ากับ 0.81 คิดเป็นร้อละ 81.00 3) นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นอยู่ในระดับมากที่สุดเท่ากับ 4.52
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject คอมพิวเตอร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
dc.subject ไมโครซอฟต์พับลิเชอร์ -- คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
dc.title การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามแนวคิดของกาเย่เรื่องการใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์พับลิชเชอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
dc.title.alternative A development of computer ssisted instruction by using Ggne’ Theory on Microsoft Publisher Progrm for Prthomsueks Five students
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this study were: 1) to develop and validate and efficiency of computer-assisted instruction by using Gagne’s Theory on Microsoft Publisher program for Prathomsueksa five students to meet the 90/90 of the criteria, 2) to study an effectiveness index of the developed CAI, 3) to study the learning achievements, 4) to study students satisfaction towards the computer-assisted instruction The samples used in this study were 40 Prathomsueksa 5 students (second semester, 2016) of Pattaya City 2 (Charoenratutid) School, Bang Lamung District, Chonburi Province selected from simple random sampling. The instruments used in this study were: 1) computer-assisted instruction Gagne’s Theory on publisher program, 2) learning achievement test, 3) students satisfaction evaluation with computer-assisted instruction. The statistics for analyzing the data were: percentage, mean, standard deviation, and t-test (Dependent samples). The research results were as follows: 1) The computer-assisted instruction on Microsoft Publisher program for Prathomsueksa 5 students had the efficiency of 94.67/95.25 which met the criteria. 2) The effectiveness index of the computer-assisted instruction was at 0.81 or 81 percent. 3) The students who studied with the from computer-assisted instruction had the posttest scores higher than the pretest scores at .05 of statistically significant. 4) The student satisfaction towards the computer-assisted instruction was at highest level (X = 4.52)
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline เทคโนโลยีการศึกษา
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account