dc.contributor.advisor |
สมุทร ชำนาญ |
|
dc.contributor.advisor |
สุรัตน์ ไชยชมภู |
|
dc.contributor.author |
ธนากร พูลพิพัฒน์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:29:36Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:29:36Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7035 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งมุ่งศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพนัสพิทยาคาร อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ข้าราชการครูโรงเรียนพนัสพิทยาคาร อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จำนวน 103 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษามีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง .24 -.73 มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .92 และแบบสอบถามความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพนัสพิทยาคาร อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี มีค่าอำนาจจ าแนกระหว่าง .22-.69 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .89 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ̅) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนพนัสพิทยาคาร อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณา และเรียงอันดับจากมากไปน้อย 3 อันดับ ได้แก่ ด้านการมุ่งความสัมพันธ์เป็นรายบุคคล มีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาเป็นด้านการมีอิทธิพลเชิงอุดมคติ และด้านการกระตุ้นทางปัญญา 2. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพนัสพิทยาคาร อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณา และเรียงอันดับจากมากไปน้อย 3 อันดับ ได้แก่ ด้านความรับผิดชอบ มีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมา ด้านความก้าวหน้า และด้านการยอมรับนับถือ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับความพึงพอใจ ในการปฏิบัติงานของครูของครูโรงเรียนพนัสพิทยาคาร อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยรวมความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง |
|
dc.subject |
โรงเรียนมัธยมศึกษา -- การบริหาร |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
|
dc.subject |
ครูมัธยมศึกษา -- การทำงาน |
|
dc.subject |
ภาวะผู้นำทางการศึกษา |
|
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับความพึงพอใจในงานของครูโรงเรียนพนัสพิทยาคาร อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 |
|
dc.title.alternative |
Reltionship between trnformtionl ledership nd job stisfction of techer in Phntpittykrn school in Phntnikom district Chonburi province under the Office of the Secondry Eduction Service Are 18 |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research aimed at studyingthe relationship between the transformational leadership of school principal and the job satisfaction of school teachers at Phanatpittayakarn School. Phanat nikhom Districts; Chonburi Province under the Office of the Secondary Education Service Area 18. The samples used in this research was teachers of Phanatpittayakarn School,Phanat nikhom District Chonburi Province. The questionnaire was a five-rating-scaleone with discrimination power between .24-.73 and .22-.69 respectively. The reliability was at .92 and .89 respectively.Statistics for data analysis included Mean ( ̅) Standard Deviation (SD) and simple correlation (Pearson’sProduct Moment Correlation Coefficient). The research found that: 1. Transformational leadership of school principal at Phanatpittayakarn School was at the highest level. 2. The job satisfaction of teachers at PhanatpittayakarnsSchool was at the highest level. 3. The relationship between transformational leadership and job satisfaction of school Teachers was found positive at a high level withstatistically significance at the level of .01. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การบริหารการศึกษา |
|
dc.degree.name |
การศึกษามหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|