DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการทำงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต1

Show simple item record

dc.contributor.advisor สถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.advisor ภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.author ลดาวัลย์ หมื่นชยุดา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:27:11Z
dc.date.available 2023-05-12T03:27:11Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6999
dc.description งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาและแรงจูงใจในการทำงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการทำงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 จำนวน 320 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ค่าอำนาจจำแนกรายข้อของแบบสอบถามการใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าอยู่ระหว่าง .45 ถึง .77 และค่าความเชื่อมั่น มีค่าอยู่ระหว่าง .96 และค่าอำนาจจำแนกรายข้อของแบบสอบถามแรงจูงใจในการทำงานของครูในสถานศึกษา มีค่าอยู่ระหว่าง .38 ถึง .87 และค่าความเชื่อมั่น มีค่าเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1. การใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 พบว่า การใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. แรงจูงใจในการทำงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 พบว่า แรงจูงใจในการทำงานของครูในสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 3. ความสัมพันธ์การใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการทำงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 โดยรวมมีความสัมพันธ์กันทางบวกอยู่ในระดับค่อนข้างสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ครู -- ความพอใจในการทำงาน
dc.subject การจูงใจในการทำงาน
dc.subject โรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subject ผู้บริหารโรงเรียน
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการทำงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต1
dc.title.alternative The reltionship between school dministrtior’s power using nd techer’s job motivtion under the ryong primry eductionl service re office 1
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This purpose of this research was to study the school administrators’ power using and teacher’s job motivation under the Rayong Primary Educational Service Area Office 1 and the relationship between school administrators’ power using and teacher’s job motivation under the Rayong Primary Educational Service Area Office 1. The samples were 320 teachers from school under the Rayong Primary Educational Service Area Office 1. The instrument employed for the data collection was a set of rating-scale questionnaires 5 level. The discrimination of administrators’ power using questionnaires was .45 - .77 and the coefficient reliability was .96, teacher’s job motivation using questionnaires was .38 - .87 and the coefficient reliability was .98. The statistics in the study were mean, standard deviation, and Pearson’s product moment correlation coefficient. The results of the study were as follows: 1. The administrators’ power under the Rayong Primary Educational Service Area Office 1 in overall and each aspects were rated at high level. 2. The teacher’s job motivation under the Rayong Primary Educational Service Area Office 1 in overall and each aspects were rated at high level. 3. The relationship between school administrators’ power using and teacher’s job motivation under the Rayong Primary Educational Service Area Office 1 had a positive relationship nearby high level by statistically significant at .01 level.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account