dc.contributor.advisor |
วิชิต สุรัตน์เรืองชัย |
|
dc.contributor.advisor |
จันทร์พร พรหมมาศ |
|
dc.contributor.author |
อุเทน วางหา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:25:12Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:25:12Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6946 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (กศ.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนสังคมศึกษาโดยประยุกต์แนวคิดชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้และทฤษฎีการสร้างความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และความสามารถในการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเพื่อประเมินผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนสังคมศึกษาโดยประยุกต์ แนวคิดชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้และทฤษฎีการสร้างความรู้ การวิจัยดำเนินการเป็น 5 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ระยะที่ 2 การออกแบบรูปแบบการเรียนการสอน และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ระยะที่ 3 การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการเรียนการสอนและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ระยะที่ 4 การนำรูปแบบการเรียนการสอนไปใช้ และระยะที่ 5 การประเมินผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 โรงเรียนเทศบาล วัดดอนไก่ดี (สังวรจันทสรราษฎรวิทยา) สังกัดเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร จำนวน 30 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม ระยะเวลาที่ใช้เวลาในการเรียนการสอนตามรูปแบบดังกล่าว 15 ชั่วโมง ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1) รูปแบบการเรียนการสอนสังคมศึกษาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์ การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล 2) ผลการประเมินผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนสังคมศึกษา พบว่า (1) นักเรียน มีคะแนนเฉลี่ยของความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียน มีคะแนนเฉลี่ยของความสามารถในการสื่อสารหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
สังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา) |
|
dc.subject |
ความสามารถในการสื่อสาร |
|
dc.subject |
ทฤษฎีสรรคนิยม |
|
dc.subject |
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ |
|
dc.subject |
ระบบการเรียนการสอน (มัธยมศึกษา) |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน |
|
dc.title |
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนสังคมศึกษาโดยประยุกต์แนวคิดชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้และทฤษฎีการสร้างความรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์และความสามารถในการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
|
dc.title.alternative |
Development of socil studies instructionl model by pplying community-bsed lerning pproch nd constructivism to enhnce nlyticl thinking nd communiction bilities for mttyomsuks three students of Locl Government Orgniztion School |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to develop the instructional model for students to enhance analytical thinking and communication abilities, and to evaluate the developed model through evaluating the student’s ability in analytical thinking and communication abilities. The study process comprised five phases. The first phase was analyzing relevant data and theories. The second phase was designing instructional model and the instruments. The third phase was developing model and verify instruments. The fourth phase was applying the model to used. And last was evaluating the effectiveness of the developed model. The samples were 30 students studying in Matthayomsuksa three at Wat Don Kai Dee Municipality School, Samut Sakhon Province by using cluster random sampling. The time spent for evaluation process was 15 hours. The research results were: 1) the model consisted of principle, objective, learning activities, and measurement and evaluation. 2) Concerning the evaluation of the developed model, it was found that scores on (1) the analytical thinking after participating in the development model which is significantly higher than the pretest score at the .05 level and higher than 75 percent in average at the .05 level. (2) The communication abilities after participating in the development model which is significantly higher than the pretest score at the .05 level and higher than 75 percent in average at the .05 level. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
หลักสูตรและการสอน |
|
dc.degree.name |
กศ.ด. |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|