dc.contributor.advisor |
วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์ |
|
dc.contributor.advisor |
สุรินทร์ สุทธิธาทิพย์ |
|
dc.contributor.author |
อภิเชษฐ จันทนา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:25:11Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:25:11Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6939 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสม (Mixed method research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และศึกษาผลของการบูรณาการการปรึกษากลุ่มแบบพลวัตทางจิตกับการสร้างสัมพันธภาพต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระยะที่ 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลจำนวน 70 คน เพื่อเก็บข้อมูลวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth interview) เพื่อสร้างแบบวัดพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย รายะที่ 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 28 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการบูรณาการการปรึกษากลุ่มแบบพลวัตทางจิตกับการสร้างสัมพันธภาพต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำสองทาง (Two factor one between and one within subject design) พร้อมทั้งเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการของนิวแมน-คูลส์ (Newman-Keuls method)
ผลการวิจัยพบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองกับระยะเวลาการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ได้รับบูรณาการการปรึกษากลุ่มแบบพลวัตทางจิตกับการสร้างสัมพันธภาพต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในระยะทดลองไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม แต่ในระยะติดตามผลสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ได้รับการบูรณาการการปรึกษากลุ่มแบบพลวัตทางจิตกับการสร้างสัมพันธภาพต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมในระยะหลังทดลองและระยะติดตามผลสูงกว่าระยะก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา |
|
dc.subject |
วัยรุ่น -- พฤติกรรมทางเพศ |
|
dc.subject |
นักเรียน -- การให้คำปรึกษา |
|
dc.subject |
จิตบำบัดแบบไดนามิกสำหรับวัยรุ่น |
|
dc.title |
การบูรณาการการปรึกษากลุ่มแบบพลวัตทางจิตกับการสร้างสัมพันธภาพต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย |
|
dc.title.alternative |
Psychodynmic- interpersonl group counseling of pproprite sexul behviors of Upper Secondry School Mle Students |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research was a mixed method, its purposes were; 1) to study sexual behaviors of upper secondary school male students. And 2) to study results of the integration of psychodynamic-interpersonal group counseling into their behaviors. Phase 1: Quantitative part, seventy students were interviewed indepth, the result was used to develop a test on appropriate sexual behaviors. Phase 2: Quantitative part, the samples of 28 students were wqually assigned into an experimental group and a control to study effects of the integration. The research tools were the program of the integration of psychodynamic-interpersonal group counseling for appropriate sexual behaviors. The data were analyzed using the two-way repeated measure ANOVA and a post-hoc analysis based on the Newman-Keuls method.
The results were that there is interaction between the method and the experimental period at the statistical significance of .05 level. The students behavior of both groups are the same during the trial session but the experimental group exhibited higher rate during the follow-up session at the statistical significance of .05 level. The experimental group hold the higher rate under the posttest length and follow-up span than the pre-test interval at the statistical significance of .05 level. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
จิตวิทยาการปรึกษา |
|
dc.degree.name |
ปร.ด. |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|