dc.contributor.advisor |
สมหมาย แจ่มกระจ่าง |
|
dc.contributor.advisor |
ศรีวรรณ ยอดนิล |
|
dc.contributor.author |
ภคอร บอร์แซก |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:25:05Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:25:05Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6924 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาวิถีชีวิตของหญิงให้บริการทางเพศและความหมายของผู้ประกอบอาชีพหญิงให้บริการทางเพศ 2. เพื่อศึกษาการวางแผนอนาคตและความต้องการสนับสนุนหลังเลิกประกอบอาชีพนี้ โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ผู้ให้ข้อมูลเป็นหญิงแท้ที่ประกอบอาชีพนี้มาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี ในเมืองพัทยา จำนวน 17 คน โดยเลือกแบบเจาะจง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. วิถีชีวิตของหญิงให้บริการทางเพศมีความเป็นอยู่ที่ไม่สะดวกสบาย ต้องเช่าห้อง อยู่อาศัย ไม่มียานพาหนะ ไม่คำนึงถึงคุณภาพทางโภชนาการ ไม่ออกกำลังกาย ไม่มีการวางแผน การรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย ผักผ่อนไม่เป็นเวลา ไม่มีการวางแผนดูแลสุขภาพ ส่วนความหมายของหญิงให้บริการทางเพศผู้ให้ข้อมูลนิยามว่า เป็นอาชีพที่ไม่เป็นที่ยอมรับของสังคมแต่เป็นอาชีพที่ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน มีรายได้ดีทำให้ครอบครัวมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น แต่มีความเสี่ยงต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ 2. การวางแผนอนาคตและความต้องการสนับสนุนหลังเลิกประกอบอาชีพให้บริการ ทางเพศ คือ ต้องการเก็บเงินให้ได้มากพอที่จะเลี้ยงดูครอบครัว มีเงินพอที่จะใช้จ่ายในครอบครัว จึงจะเลิกประกอบอาชีพนี้ ส่วนเรื่องความต้องการการสนับสนุน ต้องการให้มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนฝึกอบรมให้ความรู้ในการประกอบอาชีพใหม่ที่หลากหลาย |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
โสเภณี |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการศึกษาและการพัฒนาสังคม |
|
dc.subject |
การค้าประเวณี |
|
dc.title |
วิถีชีวิตหญิงให้บริการทางเพศ |
|
dc.title.alternative |
Lifestyle of femle commercil sex workers |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this research were 1) to study the lifestyle and the meaning of female commercial sex workers 2) to study the future planning and support for female commercial sex workerafter retirement. In-depth interview and non-participation observation were used for data collection in this qualitative research. 17 female commercial sex workers who worked at least 1 year in Pattaya Citywere selected for key informants. The contents analysis used for data analysis The findings revealed as follows: 1. Lifestyle and meaning of female commercial sex workers were: they had to rent a room for living. They had no plan for medical illness and health care. They gave the meaning of female commercial sex worker as it was a good job but not acceptable from the society. They feel like this job did not make any trouble but it can earn a high income. Additionally this job took a risk to Sexually Transmitted Infections (STIs) 2. The future planning and needs of the female commercial sex workers were to save haveenough money for settle down the family in their home town after retirement and wanted to gain knowledge by attending the training program for preparation to start a new job from the government and private sectors. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
การศึกษาและการพัฒนาสังคม |
|
dc.degree.name |
ปร.ด. |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|