DSpace Repository

ยุทธศาสตร์การส่งเสริมความมีวินัยของนักเรียนโดยความร่วมมือระหว่างสถาบันครอบครัวและสถาบันการศึกษา

Show simple item record

dc.contributor.advisor พักตร์วิภา โพธิ์ศรี
dc.contributor.advisor จันทร์ชลี มาพุทธ
dc.contributor.author รุ่งเรือง ตันเจริญ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:25:04Z
dc.date.available 2023-05-12T03:25:04Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6922
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและเงื่อนไขที่ส่งผลต่อความมีวินัยของนักเรียน และกำหนดยุทธศาสตร์การส่งเสริมความมีวินัยของนักเรียนโดยความร่วมมือระหว่างสถาบันครอบครัวและสถาบันการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 12 คน กับเทคนิควิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียน จำนวน 6 คน ผู้ปกครอง จำนวน 6 คน ครู 1 คน การเก็บรวบรวมข้อมูล การสนทนากลุ่ม การสังเกต การสัมภาษณ์ และการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. วินัยของนักเรียนนั้นเริ่มต้นจากที่บ้าน แต่เนื่องจากครอบครัวในปัจจุบันมีสภาพเป็น ครอบครัวเดี่ยว ครอบครัวแตกแยก ผู้ปกครอง ประกอบอาชีพหรือนอกบ้าน ทำให้เด็กต้องอยู่บ้านเพียงลำพัง ส่งผลทำให้เกิดช่องว่างระหว่างพ่อแม่คนในครอบครัวนอกจากนั้นสื่อต่าง ๆ ในปัจจุบัน มีผลต่อการรับรู้ของนักเรียนจึงส่งผลต่อวินัยของนักเรียนร่วมด้วย สถาบันการศึกษา ครูเป็นตัวแทน ที่จะช่วยขัดเกลาทางสังคม มีหน้าที่สอนให้มีความรู้และทักษะ ที่จะเป็นประโยชน์ในการดำรงชีวิต มีการอบรมเพื่อให้เป็นพลเมืองดี และปฏิบัติตามกฎ กติกาของสังคม 2. ยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมความมีวินัยของนักเรียนโดยความร่วมมือระหว่างสถาบัน ครอบครัวและสถาบันการศึกษา คือ ควรมีแนวทางในการส่งเสริมความมีวินัยของนักเรียน โดยความร่วมมือของภาคส่วน การกำหนดแนวนโยบาย ที่เข้ามามีส่วนส่งเสริมความมีวินัยเด็กนั้น กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา และสถาบันครอบครัว มีหน้าที่จะต้องกำหนดแผน โครงการ วางนโยบายร่วมกัน เพื่อให้สอดคล้องกันในด้านปฏิบัติ 3. การทำสื่อออนไลน์ให้ความรู้เรื่องกฎหมายในชีวิตประจำวัน กฎ ระเบียบวินัยของ โรงเรียนและสังคม สำหรับนักเรียน
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสึกษาและการพัฒนาสังคม
dc.subject นักเรียน -- การดูแล
dc.subject วินัยในโรงเรียน
dc.subject โรงเรียน -- การบริหาร
dc.title ยุทธศาสตร์การส่งเสริมความมีวินัยของนักเรียนโดยความร่วมมือระหว่างสถาบันครอบครัวและสถาบันการศึกษา
dc.title.alternative Strtegies for enhncing students discipline by fmily nd school enggement
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposed of this research were to study the situations and conditions effected students discipline and to set up the strategies for enhancing students discipline via family and education institutions. The sample was 12 participants ant the participatory action research (PAR) including 6 students, 6 parents and 1 teacher was used. Data collection were focus group discussion, observation, and interview. The content analysis was used for data analysis. The result showed that: 1. Students discipline stared at home. Because of the single families, broken families and working outside the home of parents made the gap between students and parents and the media effected perception and discipline of students. Education institutions and teachers were socialization agents to educate knowledge and skill for daily life to be good citizen and abide by social rules of students. 2. The strategies for enhancing students discipline via family and education Institutions cooperation were setting up: Guideline for enhancing students discipline by sectors cooperation, policy for enhancing students discipline, Ministry of Education, education sectors and family institutions had to collaboratively set up plan, project and policy for practice. 3. Develop online media to educated about laws in daily life, school and social’s rules and discipline for students.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline การสึกษาและการพัฒนาสังคม
dc.degree.name ปร.ด.
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account