dc.contributor.advisor |
ศรัณย์ ภิบาลชนม์ |
|
dc.contributor.advisor |
กิตติมา พันธ์พฤกษา |
|
dc.contributor.author |
วิรัตน์ ขันเขต |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:25:03Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:25:03Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6918 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถ ในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์เชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน ซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสาธิต “พิบูลบำเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 32 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์เชิงตรรกะของ เฮลเลอร์และเฮลเลอร์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์คะแนนพัฒนาการ ซึ่งผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์เชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นร้อยละ 51.58 ซึ่งมีพัฒนาการอยู่ในระดับสูง 2. การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์เชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์เรื่อง การเคลื่อนที่แบบหมุน ส่งผลให้นักเรียนมีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์สูงขึ้นร้อยละ 71.04 ซึ่งมีพัฒนาการอยู่ในระดับสูง |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
กิจกรรมการเรียนรู้แบบ 5 อี |
|
dc.subject |
การแก้ปัญหา -- คณิตศาสตร์ |
|
dc.subject |
การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ |
|
dc.subject |
ฟิสิกส์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) |
|
dc.subject |
ความสามารถทางคณิตศาสตร์ |
|
dc.title |
การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์เชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 |
|
dc.title.alternative |
Lerning mngement by using the inquiry method (5e) with the heller nd heller logicl physics problem solving strtegy to develop lerning chievement nd the bility of physics problem solving of tenth grde students |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to develop the ability of Physics problem solving and learning achievement of tenth grade students by using the inquiry method (5E) with the Heller and Heller logical Physics problem solving strategy. This research was a classroom action research. The participants in this study consisted of 32 tenth grade students in the second semester of the 2016 academic year at Piboonbumpen Demonstration School, Burapha University. The research instruments were lesson plans based on inquiry method (5E) with the Heller and Heller logical Physics problem solving strategy, learning achievement test, and ability of Physics problem solving test. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, and measuring development score. The results show that: 1. The score of learning achievement development, after using the inquiry method (5E) with the Heller and Heller logical Physics problem solving strategy in Rotational motion, was at high level with 51.58%. 2. The ability of Physics solving development score, after using the inquiry method (5E) with the Heller and Heller logical Physics problem solving strategy in Rotational motion, was at high level with 71.04 |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การสอนวิทยาศาสตร์ |
|
dc.degree.name |
กศ.ม. |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|