DSpace Repository

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้ขั้นตอนการสอนของกาเย่เรื่อง เพศศึกษาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Show simple item record

dc.contributor.advisor ฐิติชัย รักบำรุง
dc.contributor.advisor นคร ละลอกน้ำ
dc.contributor.author อนุชา กนกถาวรธรรม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:25:02Z
dc.date.available 2023-05-12T03:25:02Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6911
dc.description วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ1)เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเพศศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1 / E2 เท่ากับ 85/852) เพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์เรื่อง เพศศึกษา สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่อง เพศศึกษา วิธีดำเนินการวิจัย ดังนี้ 1)ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปกำหนดต้นแบบ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2)กำหนดลักษณะและออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3) ทดสอบประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และ 4)การวิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปรีชานุศาสน์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 30 คน โดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2)แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และ 3) แบบศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยค่าร้อยละค่าเฉลี่ยค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบ ประสิทธิภาพ (E1 /E2 )และ t-test ผลการวิจัย พบว่า 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเพศศึกษาได้ผลการทดสอบประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1 /E2 เท่ากับ 86.44/87.22 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง เพศศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปรีชานุศาสน์ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเพศศึกษา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ “ความพึงพอใจมากที่สุด”
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject เพศศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศีกษา)
dc.subject เพศศึกษา -- คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
dc.title การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยใช้ขั้นตอนการสอนของกาเย่เรื่อง เพศศึกษาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
dc.title.alternative The evelopment of computer-ssisted instruction by using the Ggne’s nine events of instruction on the sex eduction for 2 Mthyom students
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The objectives of this research were 1) to development The Computer Assisted Instruction on Sex education for Mathayomsuksa 2 students whenE1 /E2 was 85/85, 2) to compare the achievement of before and after students studying the lesson through the use of ComputerAssisted Instruction on Sex education, and 3) to study student’s satisfaction after using The Computer Assisted Instruction on Sex education. The methods of this research were: 1) studying relevant documents, principles, theories, for drafting the Prototype of The Computer Assisted Instruction 2) designing and definding the quality of The Computer Assisted Instruction 3) examining the efficiency of The Computer Assisted Instruction and 4) analysising’ data. The research samples consisted of 30 students of mathayom2, inPreechanusas school. Operation two semester in academic year 2016, selected by purposive sampling. The research instruments were 1) The Computer Assisted Instruction 2) pre-test and post-test and 3)Satisfaction assessment of Computer Assisted Instruction. Percentage, mean, standard deviation, E1 /E2, and t-test were applied to analyze collected data. The research results that: 1. The Computer Assisted Instruction on Sex education was efficient according to E1 /E2 =86.44/87.22 2. The achievements of the students after studying using The Computer Assisted Instruction are statistically higher than the achievement before studying using The Computer Assisted Instruction at the .05 level. 3. The student’s satisfaction using The Computer Assisted Instruction found that it was in the most suitable level.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline เทคโนโลยีการศึกษา
dc.degree.name กศ.ม.
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account