DSpace Repository

วัฒนธรรมโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มเครือข่ายวังบูรพา จังหวัดสระแก้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมุทร ชำนาญ
dc.contributor.author บุญเตือน จามะรี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:21:50Z
dc.date.available 2023-05-12T03:21:50Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6881
dc.description งานนิพนธ์ (กศม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาระดับและเปรียบเทียบวัฒนธรรมโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มเครือข่ายวังบูรพา จังหวัดสระแก้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 จำแนกตาม ประสบการณ์การทำงาน และขนาดของโรงเรียน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ข้าราชการครู กลุ่มเครือข่ายวังบูรพา จังหวัดสระแก้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 จำนวน 218 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ เกี่ยวกับวัฒนธรรม โรงเรียน ตามแนวคิดของแพตเตอร์สัน (Patterson, 1986) โดยมีค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ที่ .39-.85 และ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ( One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. วัฒนธรรมโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มเครือข่ายวังบูรพา จังหวัดสระแก้ว สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากและปานกลาง โดยเรียงลับจากมากไปน้อย คือ การตัดสินใจ ความมุ่งประสงค์ของโรงเรียน ความซื่อสัตย์สุจริต 2. การเปรียบเทียบวัฒนธรรมองค์การของโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มเครือข่ายวังบูรพา จังหวัดสระแก้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้น ด้านความไว้วางใจและด้านการยอมรับแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. การเปรียบเทียบวัฒนธรรมองค์การของโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มเครือข่ายวังบูรพา จังหวัดสระแก้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 จำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยรวมและรายด้าน พบว่า ข้าราชการครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน มีวัฒนธรรมโรงเรียน ที่แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า วัฒนธรรมโรงเรียน 4 ด้าน คือ ความมุ่งประสงค์ของโรงเรียน การมอบอำนาจ การตัดสินใจ ความมีคุณภาพ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subject โรงเรียนมัธยมศึกษา
dc.subject วัฒนธรรม
dc.subject การศึกษาขั้นมัธยม
dc.title วัฒนธรรมโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มเครือข่ายวังบูรพา จังหวัดสระแก้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7
dc.title.alternative The school culture of secondry wngburph group chngwt Skeo under the office of the committee for eduction service res 7
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of the study were to examine the degrees and compare the corporate cultures of secondary schools of Wang Burapha group Changwat Sakaeo under the Office of the Committee for Education Service Areas 7 as classified by working experiences and school sizes. The sample in this study was 218 teachers of Wang Burapha group Changwat Sakaeo under The Office of The Committee for Education Service Area 7. The data collection instrument in this study was a five-point-rating-scale questionnaire asking questions concerning the school cultures based on the framework proposed by Patterson (Patterson, 1986). The questionnaire has its item discriminating power between .39-.85. The reliability of this questionnaire was .98. The statistical methods used in this study were Mean ( ), Standard Deviation (SD), t-test, and One-way analysis of variance (One-way ANOVA). The research reached the following conclusions: 1. The corporate culture of secondary schools of Wang Burapha group Changwat Sakaeo under The Office of the Committee for Education Service Areas 7 was recognized by teachers at a high and moderate level both in Overall and each aspect. The top three school cultures which were rated the most included 1) decision making, 2) purposes of the school, and 3) honesty. 2. The comparison of the corporate cultures of the secondary schools Wang Burapha group Changwat Sakaeo under The Office of the Committee for Education Service Areas 7 as categorized by teachers’ working experiences was found statistically significant different at 0.05 level. However, the reliability and acceptability aspects showed no statistically significant difference. 3. The comparison of the corporate cultures of the secondary schools Wang Burapha group Changwat Sakaeo under The Office of the Committee for Education Service Areas 7 as classified by the size of schools showed no statistically significant difference. However, about 4 aspects of school cultures including 1) school purposes, 2) empowerment, 3) decision, 4) quality, indicated statistically significant difference at .05 level.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name กศ.ม.
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account