DSpace Repository

การศึกษาการจัดกการเรียนการสอนของครูโรงเรียนการจัดการเรียนร่วมกลุ่มคุณภาพกบินทร์บุรี 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชัยพจน์ รักงาม
dc.contributor.author สุทธิรักษ์ คำพานนท์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:21:48Z
dc.date.available 2023-05-12T03:21:48Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6875
dc.description งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการเรียนการสอนของครูโรงเรียนการจัด การเรียนร่วม กลุ่มคุณภาพกบินทร์บุรี 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูโรงเรียนการจัดการศึกษาเรียนร่วม กลุ่มคุณภาพกบินทร์บุรี 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 จำนวน 108 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง ซึ่งเป็นเครื่องมือเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ โดยมีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง .28-.72 และค่าความเชื่อมั่น ของแบบสอบถามทั้งฉบับ เท่ากับ .92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) สถิติ t-test สถิติ F-test (One-way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยใช้การเปรียบเทียบโดยใช้วิธีการทดสอบรายคู่แบบ LSD (Least significant difference) ผลการวิจัย พบว่า 1. การจัดการเรียนการสอนของครูโรงเรียนการจัดการเรียนร่วม กลุ่มคุณภาพกบินทร์บุรี 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด 2. การจัดการเรียนการสอนของครู จำแนกตามวุฒิการศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้น ด้านเจตคติในการจัดการศึกษาเรียนร่วม และด้านการพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มพูนทักษะในการจัดการเรียนร่วม แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. การจัดการเรียนการสอนของครูจำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมและ รายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ พบว่า ด้านการพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มพูนทักษะในการจัดการเรียนร่วม มีความแตกต่าง 2 คู่ ด้านการจัดทำ แผนการสอนเฉพาะบุคคล (IIP) มีความแตกต่าง 2 คู่ ด้านการจัดหา ผลิตและใช้เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา มีความแตกต่าง 2 คู่ ด้านการจัดการเรียนรู้ มีความแตกต่าง 2 คู่ ด้านการวัดและประเมินผล มีความแตกต่าง 1 คู่ และด้านการใช้กระบวนการวิจัย มีความแตกต่าง 2 คู่ พบว่า ยกเว้น ด้านเจตคติในการจัดการศึกษา และด้านการจัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การเรียนแบบมีส่วนร่วม
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subject การศึกษาพิเศษ
dc.subject ครูสอนเด็กพิเศษ
dc.title การศึกษาการจัดกการเรียนการสอนของครูโรงเรียนการจัดการเรียนร่วมกลุ่มคุณภาพกบินทร์บุรี 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2
dc.title.alternative A study of teching for techers in inclusive eduction schools under qulity Kbinburi 4 Prchinburi primry eduction service re office 2
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study teaching and classroom management teachers in inclusive education schools under quality Kabinburi4 Prachinburi Primary Education Service Area Office 2. The sample was 108 teachers in inclusive education schools. The research instrument was a rating scale (5-level) questionnaire of 30 items. The item discrimination rower was between .28-.72 and the reliability of questionnaire was at .92. Data was analyzed by Mean, Standard Deviation, Independent sample t-test, and One-way ANOVA.When the significant differences were found, Least Significant Difference method was used. The result of research is 1. The teaching of teachers in inclusive education schools under Quality Kabinburi 4 Prachinburi Primary Education Service Area Office 2, in overall and each aspect, were at the highest level. 2. The comparison of teaching, classified by level of educations, in overall and each aspect, were statistically significant difference at the .05 level, except for the attitudes in managing education and the Development skills which were not statistically significant difference. 3. The comparison of teaching, classified by work experience, in overall and each aspect, were statistically significant difference at the .05 level, except for the attitudes in managing education and the Individualized education planning (IEP), were not statistically, significant differences.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name กศ.ม.
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account