DSpace Repository

บรรยากาศองค์การของโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอแก่งหางแมวจังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชัยพจน์ รักงาม
dc.contributor.author รัชนี เงินถ้วน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:21:42Z
dc.date.available 2023-05-12T03:21:42Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6847
dc.description งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบบรรยากาศองค์การของโรงเรียนประถมศึกษา ในอำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 จำแนกตามเพศประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ครูโรงเรียนประถมศึกษา ในอำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี ปีการศึกษา 2559 กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของ Krejcie and Morgan (1970, p. 608) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 140 คน จากนั้นทำการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) ตามขนาดของสถานศึกษาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่เป็นแบบสอบถามที่เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า มีค่าอำนาจจำแนกของแบบสอบถามระหว่าง .22 ถึง .79 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับฉบับเท่ากับ .95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ( X̅ ) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการของ Scheffe’ ผลการการวิจัยพบว่า 1. บรรยากาศองค์การของโรงเรียนประถมศึกษา ในอำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประถมศึกษาจันทบุรีเขต 1 พบว่า คะแนนรวมความแตกต่างจากมิติของแบบบรรยากาศน้อยที่สุด คือ แบบรวบอำนาจ 2. ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมครูและพฤติกรรมผู้บริหารของโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 โดยจำแนกตามเพศ พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อจำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า มิติขวัญและมิติมิตรสัมพันธ์มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อจำแนกตามขนาดโรงเรียน พบว่า มิติขาดความสามัคคี มิติอุปสรรค และมิติขวัญมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subject สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน -- ไทย -- จันทบุรี
dc.subject โรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร -- ไทย -- จันทบุรี
dc.title บรรยากาศองค์การของโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอแก่งหางแมวจังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1
dc.title.alternative The orgniztionl climte of primry school in Keng hng moeo district, Chnthburi province under the Chnthburi primry eductionl service re office 1
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study and to compare the organizationalclimate of Primary School in Kaeng Hang Maeo Distric Under Chanthaburi Primary Educational Service Area Office 1 by the gender ,working experience and the size of school. The research sanple were 140 Primary school teachers working in Kaen Hang Maeo District Chanthaburi in the academic year of 2016. The research instrument was a questionnaire. By using tables of a sample size Krejcie and Morgan (1970, p. 608), the sample was 140 teachers. The sample was drawn by Stratified random sampling categorized by the size of school. Its differentiation and reliability were .22-.79 and reliability of .95. The statistics used for data analysis were A verage ( X̅ ), Standard Deviation (SD), t-test, (One-way ANOVA) and Pearson Product Moment Correlation. The findings of the research were as follows: 1. The least organizational climate summary points of Primary School in Kaeng Hang Maeo district under Canthaburi Primary Educational Service Area Office 1 was the Paternal Climate. 2. The comparison of teachers and school administrators’ behavior according to gender was not statistical significant difference. However, according to working experience there was significantly different statistically at the .05 level in the esprit and intimacy aspects. Finally, according to school size there was significantly different statistically at the .05 level in the disengagement, hindrance and esprit aspects.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา
dc.degree.name การศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account