dc.contributor.advisor |
ประยูร อิ่มสวาสดิ์ |
|
dc.contributor.author |
วิเชียร วรรณภากร |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T03:21:38Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T03:21:38Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6823 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาและเปรียบเทียบภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหาร สถานศึกษามัธยมศึกษาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตราด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 ปีการศึกษา 2559 จำแนกตามเพศ ขนาดสถานศึกษา และประสบการณ์การทำงาน กำหนดขนาด กลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970, pp. 608-610) ได้กลุ่มตัวอย่าง 181 คน จากนั้นสุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) จำแนกตามขนาดสถานศึกษา แล้วทำการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) ตามขนาดสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ระหว่าง .40-.82 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .97 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าคะแนนเฉลี่ย ( ) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว (One-way ANOVA) ในกรณีที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของตัวแปรที่ทดสอบ จะทำการเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการทดสอบของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษามัธยมศึกษาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตราด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. เปรียบเทียบภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษามัธยมศึกษาในเขตอำเภอเมือง จังหวัดตราด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ยกเว้น ด้านการจัดให้มีสิ่งส่งเสริมสภาพการเรียนรู้ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามขนาดสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยผู้บริหารสถานศึกษาขนาดกลางมีภาวะผู้นำทางวิชาการสูงกว่าผู้บริหารสถานศึกษาขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ และจำแนกตามประสบการณ์การทำงาน โดยรวมและ รายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
|
dc.subject |
ผู้บริหารโรงเรียน |
|
dc.subject |
โรงเรียน -- การบริหาร |
|
dc.subject |
บุคลากรทางการศึกษา |
|
dc.subject |
ภาวะผู้นำทางการศึกษา |
|
dc.title |
การศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษามัธยมศึกษาในเขตอำเภอเมืองจังหวัดตราด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกาามัธยมศึกษา เขต 17 |
|
dc.title.alternative |
The study of instructionl ledership of secondry schools’ dministrtors in mueng distric, Trt under secondry eductionl service re office 17 |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to study and compare instructional leadership of secondary schools’ administrators in Mueang distric, Trat under the Secondary Educational Service Area Office 17 as categorized by gender, schools size and working experiences. The samples defined by using Krejcie and Morgan’s table were 181 teachers. (Krejcie & Morgan, 1970, pp. 608-610). The samples were selected by using simple random sampling method categorized by schools’ size, then simple random sampling was used. The research instrument was a five-rating-scale questionnaire which its item discrimination power ranged from .40-.82. The reliability of the questionnaire was .97. Statistics used to analyze data were mean ( ), Standard Deviation (SD), t-test and one-way ANOVA. In case there was a statistical difference of the tested variables, Scheffe’s method was used to compare the differences between each pair. The research findings were as follows: 1. Instructional leadership of secondary schools’ administrators in Mueang district, Trat under secondary educational service area office 17 in general and all aspects was at high level. 2. The results of data analysis in comparing instructional leadership of secondary schools’ administrators in Mueang district, Trat under secondary educational service area office 17 as categorized by gender in general and all aspects were not statistically different, except the aspect of providing incentives for learning which was different with the statistical significance at .05 level. Categorized by schools’ size, in general and all aspects were different with statistical significance at .05 level. The schools’ administrators in medium-size schools had higher instructional leadership than the schools’ administrators in small and big schools. Categorized by working experiences, in general and all aspects were different with no significance. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การบริหารการศึกษา |
|
dc.degree.name |
กศ.ม. |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|