DSpace Repository

การสำรวจและศึกษาภูมิปัญญาของชุมชนท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณีเกาะสีชัง อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author ไพฑูรย์ โพธิสว่าง th
dc.contributor.author ศรุติ สกุลรัตน์ th
dc.contributor.author โกวิท กระจ่าง th
dc.contributor.author วัลลภ ศัพท์พันธุ์ th
dc.contributor.author กิจฐเชต ไกรวาส th
dc.contributor.author ศิริวรรณ ประเสริฐจรรยา th
dc.contributor.author สุนันทา ภู่สุวรรณ์ th
dc.contributor.author ภาคภูมิ ทิพคุณ th
dc.contributor.author สนุกูล แก้วทะรมณ์ th
dc.contributor.author อ้อย ปลีเจริญ th
dc.contributor.author ประพันธ์ ยิ้มสกุลกาญจน์ th
dc.contributor.author เพชรรัตน์ พิเคราะห์ th
dc.contributor.author กาญจนา วิบูลย์อรรถ th
dc.contributor.author พุทธชาค ตระกูลทอง th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:53:00Z
dc.date.available 2019-03-25T08:53:00Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/671
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยเรื่อง การสำรวจและศึกษาภูมิปัญญาของชุมชนท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณีบริเวณเกาะสีชัง อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี โดยศึกษาในเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจฐานรากของเกาะสีชัง ศึกษาความเป็นมาและการก่อเกิดกระบวนการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศึกษาถึงโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ทางสังคม โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ผลการศึกษาพบว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สำคัญมี 5 ภูมิปัญญา ได้แก่ ภูมิปัญญาในเรื่องของประมงพื้นบ้าน ประกอบด้วย การตกปลา การจับหมึก การแคะและเลี้ยงหอยทะเล, ภูมิปัญญาการเก็บรังนกนางแอ่น, การทุบและย่อยหิน, การใช้สมุนไพรและภูมิปัญญาเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นส่วนใหญ่ผ่านขบวนการทดสอบโดยการปฏิบัติมาแต่ครั้งบรรพบุรุษ จนสามารถตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และเงื่อนไขทางสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา นำมาซึ่งรายได้สร้างเศรษฐกิจฐานราก กลายเป็นเครือข่ายทักทอต่อกัน สู่การนำไปแก้ไขปัญหาและปรับใช้ในการดำรงอยู่ต่อไป สามารถสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนเกาะสีชังได้ในปัจจุบัน th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การพัฒนาชุมชน - - ไทย - - ชลบุรี (เกาะสีชัง) th_TH
dc.subject ชุมชน - - ไทย - - ชลบุรี (เกาะสีชัง) th_TH
dc.subject ประมงพื้นบ้าน - - ไทย - - ชลบุรี (เกาะสีชัง) th_TH
dc.subject ภูมิปัญญาชาวบ้าน th_TH
dc.subject เครื่องมือจับสัตว์น้ำ th_TH
dc.subject สาขาสังคมวิทยา th_TH
dc.title การสำรวจและศึกษาภูมิปัญญาของชุมชนท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณีเกาะสีชัง อำเภอเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี th_TH
dc.type Research
dc.year 2545
dc.description.abstractalternative This qualitative research aimed to categorize economic- related folk wisdom prevalent in Si Chang Island community, and to study the backgrounds, and formation of such wisdom, from which the findings are to be used as a development framework for the community strengthening and problem solutions. The methods employed in the study included the survey of relevant documents focusing on economic and social structure of the community, the focused group discussion, and the in-dept interview with local key informants. The study revealed 5 main types of economic-related folk wisdom-folk fishery including fish and squid catching, oyster and mussel farming and shelling; (swallow) bird-nest collecting; knowledge on herbal medicine; and eco-tourism. Most of this folk wisdom-through generations of the people in the area-has been tested of its relevance along the process of learning by doing and use to community living, which required strength to overcome obstacles posted by nature, adaptability to natural surrounding, and ability to live harmoniously with its existing nature and social condition. These types of folk wisdom, with determining geographical factors, have rendered foundations from which the community has built its grassroots economy, have served as a net to accommodate lives in community, provided frame foe flexibility and adaptability, which in turn rendered strength to the community to survive in the changing society. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account