DSpace Repository

การจัดการความรู้ของข้าราชการกองบิน 2

Show simple item record

dc.contributor.advisor เทียนแก้ว เลี่ยมสุวรรณ
dc.contributor.author เศกสรรค์ สวนสีดา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:17:52Z
dc.date.available 2023-05-12T03:17:52Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6713
dc.description งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นกรวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการความรู้ของข้าราชการกองบิน 2 และเพื่อเปรียบเทียบการจัดการความรู้ของข้าราชการกองบิน 2 จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ชั้นยศ และอายุราชการ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นข้าราชการกองบิน 2 จำนวน 268 คน ใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที(t-test)วิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า กาจัดการความรู้ของข้าราชการกองบิน 2 โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีการจัดการความรู้มากที่สุด คือ ด้านการสร้างและการแสวงหาความรู้รองลงมา คือ ด้านการจัดดการความรู้ให้เป็นระบบ ด้านการบ่งชี้ความรู้ ด้านการประมวนและกลั่นกรองความรู้ ด้านการเรียนรู้ ด้านการเข้าถึงความรู้ ตามลำดับ ส่วนด้านที่มีการจัดการความรู้น้อยที่สุด คือ ด้านการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ สำหรับการเปรียบเทียบการจัดการความรู้ของข้าราชการกองบิน 2 ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ชั้นยศ และอายุราชการ พบว่า ข้าราชการกองบิน 2 ที่มีเพศ อายุ และอายุราชการต่างกัน มีการจัดการความรู้ทั้งในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน ส่วนข้าราชการกองบิน 2 ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีการจัดการความรู้ด้านการบ่งชี้ความรู้ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลและกลั่นกรองความรู้ การเข้าถึงความรู้การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ การเรียนรู้ และในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านการสร้างและการแสวงหาความรู้ไม่แตกต่างกัน และข้าราชการกองบิน 2 ที่มีชั้นยศต่างกัน มีการจัดการความรู้ด้านการจัดการความรู้ให้เป็นระบบ กรประมวลและกลั่นกรองความรู้ การเข้าถึงความรู้ และในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านการบ่งชี้ความรู้ การสร้างและการแสวงหาความรู้ และการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้การเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การบริหารองค์ความรู้
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
dc.subject ข้าราชการทหาร
dc.title การจัดการความรู้ของข้าราชการกองบิน 2
dc.title.alternative Knowledge mngement of officls in wing 2
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This quantitative research aimed at 1) studying knowledge management competencies of officials working in Wing2 and 2) comparing demographic factors of each official individual contributing to individual’s knowledge management competencies; i.e. gender, age, educational background, military rank and working period. The respondents were 268 officials working in Wing2. Data was garnered utilizing a questionnaire with reliability assessment level of 0.98 The descriptive statistics used for analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and One-way ANOVA. In addition, LSD approach was used to perform pairwise comparison The results indicated that the overall knowledge management competencies of officials working in Wing2 is as of high level. Taking each single component of knowledge management process into account, it was found that officials have shown the highest level of knowledge management competencies in regard to knowledge creation and acquisition. Following are knowledge organization, knowledge identification, knowledge codification and refinement, learning, and knowledge access, and knowledge sharing, respectively. The results also pointed out that gender, age, and working period yield no association with knowledge management competencies of officials. In contrast, educational background influences some aspects concerning knowledge management process involving knowledge identification, knowledge organization, knowledge codification and refinement, knowledge access, knowledge sharing, and learning. This claim is supported by statistically difference at 0.05. Yet, educational background and knowledge creation and acquisition bears no connection. Military rank of officials was discovered to have contributed to knowledge organization, knowledge codification and refinement, and knowledge access as shown through statistically significant difference at 0.05. However, no association between military rank and knowledge identification, knowledge creation and acquisition, knowledge sharing, and learning has been repoted.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารทั่วไป
dc.degree.name รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account