dc.contributor.advisor | วสุธร ตันวัฒนกุล | |
dc.contributor.author | ณัชชา ฉัตร์เงิน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:12:18Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:12:18Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6624 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (ส.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง ผลกระทบจากการประกอบอาชีพค้าขายรายย่อยของแรงงานต่างด้าวที่มีต่อผู้ค้าชาวไทยในตลาดใหม่ชลบุรี มีวัตถุประสงค์ที่สําคัญ คือ 1. เพื่อศึกษาผลกระทบจากการประกอบอาชีพค้าขายรายย่อยของแรงงานต่างด้าวที่มีต่อผู้ค้ชาวไทยในตลาดใหม่ชลบุรี 2. เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อระดับผลกระทบจากการประกอบอาชีพค้าขายรายย่อยของแรงงานต่างด้าวที่มีต่อผู้ค้าชาวไทยในตลาดใหม่ชลบุรี และ 3. เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไขปัญหาจากการประกอบอาชีพค้าขายรายย่อยของแรงงานต่างด้าวที่มีต่อผู้ค้าชาวไทยในตลาดใหม่ชลบุรี โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ประกอบอาชีพค้าขายรายย่อยในตลาดใหม่ชลบุรี จํานวน 248 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ข้อค้นพบที่หนึ่งตามวัตถุประสงค้ข้อที่ 1. พบว่า ผู้ค้าชาวไทยในตลาดใหม่ชลบุรี ได้รับผลกระทบจากการประกอบอาชีพค้าขายรายย่อยของแรงงานต่างด้าว โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ข้อค้นพบที่สองตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2. จากผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยที่มีผลกระทบจากการประกอบอาชีพค้าขายรายย่อยของแรงงานต่างด้าวที่มีต่อผู้ค้าชาวไทยในตลาดใหม่ชลบุรี ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด ประเภทของกิจการ/การค้าขาย และระยะเวลาที่ประกอบอาชีพ ข้อค้นพบที่สองตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3.ผลการศึกษา พบว่า ด้านเศรษฐกิจ พบว่า ผู้ค้าชาวไทยในตลาดใหม่ชลบุรี ต้องการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาบริหารจัดการเรื่องสิทธิ และสัดส่วนในการประกอบอาชีพของแรงงานต่างด้าวให้เป็นระบบ เพราะคนไทยที่ประกอบอาชีพต่าง ๆ ในตลาดใหม่ชลบุรี โดนแรงงานต่างด้าวแย่งงานทํามาก ด้านสังคม พบว่า ผู้ค้าชาวไทยในตลาดใหม่ชลบุรี ต้องการให้หน่วยงานรัฐที่ดูแลเรื่องการรักษาความปลอดภัยเข้ามาดูแลอย่างสม่ำเสมอ เพราะเมื่อมีจํานวนแรงงานต่างด้าวเข้ามาอยู่ในพื้นที่เป็นจํานวนมาก คน ไทยก็เป็นกังวลเรื่องปัญหาอาชญากรรมและยาเสพติดมากที่สุด ด้านการปกครอง พบว่า ผู้ค้าชาวไทยในตลาดใหม่ชลบุรี ต้องการให้ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาตรวจตราดูแลอย่างเข้มงวดมากขึ้น เพราะปัจจุบันขาดการดูแลอย่างทั่วถึงมากที่สุด | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.subject | เบาหวาน | |
dc.title | การติดตามประเมินผลการดำเนินงานการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานของกลุ่มงานเวชกรรมสังคมโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสระแก้ว | |
dc.title.alternative | A follow – up study on the implementtion of screening nd improving helth behviors in people t risk dibetes of socil medicine deprtment, s keo crown prince hospitl | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | Sa kaeo Crown Prince hospital are having problems with diabetes being treated a lot throughout the year. Social Medicine department undertakes a diabetes screening program and been improving health behavior for people at risk. To reduce the number of diabetic patients. This study aims to track and evaluate those projects that will be implemented in 2016. Based on Stake's evaluation model. The sample consisted of 4 staff responsible, 280 people involved and 120 people at risk. Data were collected from official document. Send a questionnaire to staff responsible, People involved and the people at risk. Between April 2017. And data analysis by frequency distribution Number and percentage, mean, standard deviation, and t-test statistic. This follow-up study was found that diabetic screening and improving health behavior among people at the risk of Social Medicine department. There were 4 staff responsible, 3 related agencies. The budget was around one hundred fifty thousand baht. There were 5,034 people or 70.6 percent of them who were screening. Of these, 39 were diabetic or 0.7 percent was screened and 1,126 health behaviors were modified. However, 724 or 64.2 percent of those who had to undergo improve health behavior. The people at risk asked 120 people. Service access of these people in overall was 81.9 an average score percent ( X %). It was acceptability in the most, followed by availability, accessibility, accommodation and affordability an average score percent were 86.3, 84.8, 84.0, 78.8 and 69.9 percent, respectively. Protection motivation behavior of these risk people in overall was 70.7 an average score percent ( X %). It was vulnerability in the most, followed by response efficacy, perceived severity and self-efficacy an average score percent were 82.0, 72.8, 71.3 and 56.5 respectively. People at risk were satisfied with the screening process for diabetes at average score was 78.1 percent and satisfied with the improve health behavior an average score was 77.7 percent. The involved were satisfied with an average score of 87.9 percent. And the staff responsible for the operation was satisfied with an average score of 85.8 percent. When comparing the results with the target, it was found that Service access of people and satisfaction of staff responsible and people involved was passed the criteria 80.0 percent. Protection motivation behavior. Satisfaction with screening and improving health behavior of people not passed the criteria. Therefore, should encourage people to be protection motivation behaviors and more satisfied with the screening. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | สาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา |