DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างทุนชีวิตกับการมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นหญิง

Show simple item record

dc.contributor.advisor พรนภา หอมสินธุ์
dc.contributor.advisor ฉันทนา จันทวงศ์
dc.contributor.author นุชนาถ โรจนธรรม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:01:47Z
dc.date.available 2023-05-12T03:01:47Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6544
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract สภาพสังคมไทยที่เปลี่ยนแปลงไปส่งผลต่อค่านิยมและพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่น การมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเป็นปัญหาสังคมไทยนับวันจะทวี ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น การวิจัยเชิงหาความสัมพันธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีเพศสัมพันธ์ ทุนชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างทุนชีวิตกับการมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นหญิงกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนหญิงมัธยมศึกษาตอนปลายและนักเรียนอาชีวศึกษาในจังหวัดจันทบุรีจํานวนทั้งหมด 443 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติ Binary logistic regression ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 28.2 เคยมีเพศสัมพันธ์แล้ว สําหรับทุนชีวิต ซึ่งประกอบด้วยพลัง 5 ด้าน ได้แก่ พลังตัวตน พลังครอบครัว พลังสร้างปัญญา พลังเพื่อน และกิจกรรม และพลังชุมชน กลุ่มตัวอย่างมีทุนชีวิตในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 67.36) เมื่อพิจารณาทุนชีวิตตามพลังในด้านต่าง ๆ ทั้ง 5 ด้าน พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีทุนชีวิต ด้านพลังครอบครัวและพลังตัวตนอยู่ในระดับดี(ร้อยละ 76.07 และร้อยละ 75.53 ตามลําดับ) พลังสร้างปัญญาและพลังเพื่อนและกิจกรรมในระดับปานกลาง (ร้อยละ 63.20 และร้อยละ 60.89 ตามลําดับ) และพลังชุมชนอยู่ในระดับไม่ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 53.94) และพบว่า ทุนชีวิตที่มีความสัมพันธ์กับการมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นหญิงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติได้แก่ พลังครอบครัว (AOR = 2.21, 95% CI= 1.248-3.91) พลังสร้างปัญญา (AOR = 1.69, 95% CI = 1.044-2.760) พลังเพื่อนและกิจกรรม (AOR = 1.65, 95% CI= 1.009-2.701) และพลังชุมชน (AOR = 1.75, 95% CI = 1.031-2.958) ผลการวิจัยทําให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทุนชีวิตและการมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นหญิง ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อพยาบาล บุคลากรสุขภาพ และผู้ทีเกี่ยวข้องในการหาแนวทาง ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นหญิงไทยต่อไป
dc.language.iso th
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject เพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
dc.subject วัยรุ่นหญิง -- พฤติกรรมทางเพศ
dc.subject วัยรุ่นหญิง
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลปฎิบัติชุมชน
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างทุนชีวิตกับการมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นหญิง
dc.title.alternative The reltionship between life ssets nd sexul intercourse mong femle dolescents
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The Thai society changing effects the values and sexual behaviors of adolescents. The prevalence of sexual intercourse among adolescents has been increasing and getting more seriously. The purposes of this correlational research were to study sexual intercourse, life assets, and related life assets for sexual intercourse among female adolescents. A cluster random was used to draw 443 representative sample who were female upper secondary school students and vocational students in Chanthaburi province. Data were analyzed using descriptive statistics and Binary logistic regression. Findings of the study showed that 28.2% of sample had already sexual intercourse. Life assets include 5 powers; power of self, power of family, power of wisdom, power of peer and activity, and power of community. The overall life assets’ participants were at fair level (67.36%). Among those 5 powers of participants, power of family and power of self were at good levels (76.07% and 75.53% respectively);power of wisdom and power of peer and activity was at fair level (63.20% and 60.89% respectively);power of community was not passing criteria. The significant life assets related to sexual intercourse among female significantly were power of family (AOR = 2.21, 95% CI = 1.248-3.91),powerof wisdom (AOR = 1.69, 95% CI= 1.044- 2.760), power of peer and activity (AOR = 1.65, 95% CI= 1.009-2.701), and power of community (AOR = 1.75, 95% CI= 1.031-2.958) Result of study contributes to knowledge and understanding life assets and sexual intercourse among female adolescents. It will be beneficial to nurse, health personnel, and those who are involved to prevent and reduce sexual intercourse among Thai female adolescents.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การพยาบาลปฎิบัติชุมชน
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account