DSpace Repository

ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการดูแลเด็กโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจของผู้ดูแล

Show simple item record

dc.contributor.advisor นฤมล ธีระรังสิกุล
dc.contributor.advisor ศิริยุพา สนั่นเรืองศักดิ์
dc.contributor.author ชลาลัย เปียงใจ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T03:01:40Z
dc.date.available 2023-05-12T03:01:40Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6515
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)-- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลก หากเด็กป่วยโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจได้รับการดูแลที่ไม่ถูกต้องจะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงขึ้นและเสียชีวิตได้สิ่งสำคัญที่จะทำให้ผู้ดูแลมีพฤติกรรมการดูแลเด็กได้ ถูกต้องเหมาะสม วัตถุประสงค์การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้คือเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริม การรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการดูแลเด็กโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจของผู้ดูแลกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลเด็กโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวดัชลบุรีระหว่างเดือนกันยายนถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559 จำนวน 40 รายแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ20 รายกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ส่วนกลุ่มควบคุม ได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลเด็กโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซำผลการวิจัย พบว่า กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน มีคะแนน เฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลเด็กโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจ ภายหลังการทดลองทันทีและระยะติดตามหลังการทดลอง 1 สัปดาห์สูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .001) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า พยาบาลควรนำโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนไปใช้เพื่อให้ผู้ดูแลมีพฤติกรรมในการดูแลเด็กที่ถูกต้องเหมาะสมยิ่งขึ้น
dc.language.iso th
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject โรคติดเชื้อ
dc.subject โรคติดเชื้อ -- ในวัยทารกและเด็ก
dc.subject โรคติดเชื้อ -- การรักษา
dc.subject ทางเดินหายใจ -- โรค
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก
dc.title ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการดูแลเด็กโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจของผู้ดูแล
dc.title.alternative Fctors relted to mternl mngement for children with thlssemi
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative Acute respiratory infections in children under 5 years are major public health problems around the world. If children receive inappropriate care, it can lead to severe complications and death. An important factor that influences appropriate caring behaviors among caregivers is their confidence and high level of perceived self-efficacy. Therefore, the objective of this quasi-experimental research was to examine the effect of perceived self-efficacy enhancement program on caring behaviors among caregivers of children with acute respiratory infection. The samples included 40 caregivers of children with acute respiratory infections receiving care at a pediatric ward of Queen Savang Vadhana Memorial Hospital, Chon Buri province. Data were collected between September-December, 2016. Samples were assigned to either the experimental (n= 20) or control group (n= 20). The experimental group received the perceived self-efficacy enhancement program whereas the control group received usual nursing care. Research instruments consisted of the perceivedself-efficacy enhancement program, demographic questionnaire, and questionnaire of caring behavior for children with acute respiratory infection. Data were analyzed by descriptive statistics and repeated measure analysis of variance The result revealed that mean scores of caring behavior in experiment group was significantly higher than those before receiving the program and higher than those in the control group (p< .001) immediately after the experiment and at one week follow-up. Findings suggest that pediatric nurses should apply this program to promote caregivers in providing effective caring for their children.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การพยาบาลเด็ก
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account