dc.contributor.advisor |
ภัทรี ฟรีสตัด |
|
dc.contributor.advisor |
ยิ่งยศ โชคชัยวรรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
จินตวัต คล้ายเผือก |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T02:51:23Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T02:51:23Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6467 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักสองประการ ประการแรกเป็นการวิเคราะห์หาความสูญเปล่าในกิจกรรมการดําเนินงานในการออกใบขนสินค้าขาเข้าสําหรับพิธีการทางศุลกากรในการปฏิบัติงานภายในเขตปลอดอากร ประการที่สองเพื่อปรับปรุงกระบวนการออกใบขนสินค้าขาเข้าภายในเขตปลอดอากรเพื่อลดความสูญเปล่าในการทํางาน ซึ่งทั้งสองประการดังกล่าวใช้วิธีการประยุกต์การใช้การจัดการแบบลีนเป็นพื้นฐานในการพิจารณา ทั้งนี้เนื่องจาก การดําเนินงานภายในเขตปลอดอากรแตกต่างจากการดําเนินงานในแบบปกติ ผลวิจัยพบว่าประการแรก พบว่า 29 ปัญหาในการดําเนินงานนั้น จะเกี่ยวข้องกับเอกสาร 29 ในการยื่นขอนําสินค้าเข้าในเขตปลอดอากรต่อกรมศุลกากรซึ่งยังพบความผิดพลาดในการดําเนินงานในส่วนนี้หากพบความผิดพลาดจําเป็นต้องมีการแก้ไขเอกสาร โดยที่การแก้ไขเอกสารนั้นจะมีการดําเนินคดีทางศุลกากร และเสียค่าปรับในการแก้ไขเอกสาร ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น โดยไม่จําเป็น และยังเป็นความสูญเปล่าในกิจกรรมการดําเนินงาน และประการที่สองพบว่า การประยุกต์ใช้การจัดการแบบลีนสามารถใช้เป็นแนวทางในการลดความสูญเปล่าในการดําเนินงาน โดยเฉพาะความสูญเสียเนื่องมาจากการแก้ไขข้อผิดพลาดในการทํางาน หรือ Defect ซึ่งส่งผลเสียต่องานที่ทําจะต้องนํามาสู่การแก้ไข และ ความสูญเสียเนื่องมาจากการทํางานซํ้าซ้อนหรือ Over processing ซึ่งเกิดจากการทํางานซํ้าซ้อน ต้องมีการการทํางานให้ถูกต้องตั้งแต่แรก ในส่วนของรายละเอียดในเอกสารที่ไม่ครบถ้วนหรือรายละเอียดผิด ซึ่งทําให้เกิดปัญหาภายหลัง สามารถแก้ไขได้โดยการรวบรวมข้อมูลในส่วนของสินค้าไม่ว่าจะเป็น ชื่อสินค้า ราคาสินค้า น้ำหนัก จํานวนรวมไปถึง พิกัดภาษีศุลกากร และรูปภาพประกอบ หากมีข้อมูลครบถ้วน หรือข้อมูลเพิ่มเติม 29 ที่จะช่วยในการตรวจสอบสินค้าของเจ้าหน้าที่ศุลกากร และควรการประยุกต์ระบบ IT มาปรับใช้ เช่น ระบบ Netbay หรือ National single window เป็นต้น เพื่อให้ง่ายต่อการทํางานและยังสามารถป้องกันความผิดพลาดได้อีกด้วย |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
การควบคุมสินค้าขาเข้า |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร |
|
dc.subject |
การผลิตแบบลีน |
|
dc.subject |
เอกสารการค้า |
|
dc.subject |
เขตปลอดอากร |
|
dc.title |
การประยุกต์ Lean เพื่อปรับปรุงการดำเนินงานในการออกใบขนสินค้าเข้าในเขตปลอดอากร Wyncoast |
|
dc.title.alternative |
The ppliction of len mngement on issunce of the import entry bill in Wyncost freezone |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This study attempts 1) to analyze the waste in issuance of the import entry bill in Wyncoast freezone, and2) to improve procedures in issuing import entry bill in Wyncoast freezone in order to reduce the waste at work. Lean management was applied as a basic for consideration since the operation in freezone was different from regular zone. The findings reveal that problems in the operation related to document in applying for import entry bill in freezone to Customs department. There were still mistakes in the operation. At this stage, the mistakes were required the revision. To modify the mistake, customs were operated, fine were paid for correcting the document. This was an extra paid which was considered unnecessary and could lead to the waste in the operation. Secondly, it was found that the application of Lean management could be used as a guideline to reduce the lost in operation, especially the waste from correcting mistakes at work or defect that could lead to the negative impacts to the current work. Therefore, the revision is needed. the lost from over processing work which referred to the overlapping work, from repeated work. The work should be accurate at the beginning. In details, when document was incomplete or wrong that could cause the problems later, these could be solved by compiling product's documents including product name, price, weight, quantity, customs tariffs, as well as illustration. When document are completed or there should be additional document for customs officers to investigate, and IT systems such as Netbay, or National Single Window should be developed to facilitate the work and to prevent mistakes. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร |
|
dc.degree.name |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|