DSpace Repository

การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว กรณีศึกษา : ชายหาดเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชนิสรา แก้วสวรรค์
dc.contributor.author ธารทิพย์ พรมพงษ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:51:22Z
dc.date.available 2023-05-12T02:51:22Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6465
dc.description งานนิพนธ์ (บธม)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชายหาดเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ใช้วิธีการศึกษาปริมาณ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัยเลือกตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก (Convenient sampling) ทําการศึกษา จากประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณชายหาดเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี จํานวน 400 ชุด ผู้ศึกษาสร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาความเชื่อมันด้วยวิธีครอนบาค (Cronbach’s 0 alpha) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูปที่ระดับ 0.05 สําหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ทดสอบค่าเฉลี่ย (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวน (One-way ANOVA) และการทดสอบสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation) ที่นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็น เพศหญิง มีอายุอยู่ในช่วง 31-40 ปี จบการศึกษาระดับมัธยม ประกอบอาชีพนิสิต นักศึกษา ประชนส่วนใหญ่มีรายได้ 5,001-10,000 บาท มีสถานภาพโสด และมีระยะเวลาที่อยู่ในชุมชน 10-20 ปี ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในภาพรวมทั้ง 2 ด้าน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยมีรายละเอียดตามลําดับดังนี้ ด้านความรู้และความตระหนักของชุมชน ด้านความเข็มแข็งของชุมชน การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชายหาด เมืองพัทยาในภาพรวม 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง โดยรายละเอียดตามลําดับ ดังนี้ การค้นหาปัญหาและหาสาเหตุของปัญหาและสาเหตุของปัญหาการมีส่วนร่วมในการวางแผนดําเนินงาน การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติตามแผนการมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล ปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ข้อเสนอแนะ พัทยา ควรประชาสัมพันธ์เผยแพร่เอกสารที่สร้างจิตสํานึกต่อการรับผิดชอบทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยวแก่ประชาชนในชุมชนผู้ประกอบการเพื่อรับทราบข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและเห็นถึงความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ และร่วมกันดูแลรักษาแหล่ง ท่องเที่ยว รวมทั้งจัดทําป้ายประชาสัมพันธ์ เอกสารแผนพับ ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวและกฎระเบียบข้อบังคับของแหล่งท่องเที่ยวแก่ประชาชนในชุมชนและนักท่องเที่ยวชาวไทยและต่างประเทศ
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subject แหล่งท่องเที่ยว -- การพัฒนา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ
dc.subject อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
dc.title การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว กรณีศึกษา : ชายหาดเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternative Community prticiption in the development of ptty bech chonburi province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was to study community participation in the development of tourist sites in Pattaya Beach, Chonburi Province, and it was quantitative research. Data were collected by using questionnaire as a tool which was created by the researcher, and it was tested for content analysis and Cronbach's Alpha was used to test the reliability. Convenient sampling method was used for selecting samples. The study was conducted from 400 people living in Pattaya Beach area in Chonburi Province. The data were analyzed through statistical package at the statistical significance level of 0.05. The statistics used for data analysis consisted of percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, and Pearson Correlation, and the statistical significance level was determined at 0.05. The results showed that most of the sample group was female customers whose age was from 31 to 40 years. Most were college students and most earned 5,001-10,000 baht salary. They were single and had lived in the community for 10-20 years. The means of two factors affecting the community participation in the development of tourist attractions were at the high level. The details were as follows: knowledge and awareness of the community and the strength of the community. The means of four aspects of community participation in beach tourism development were at the moderate level. The details were as follows: finding the problem and the cause of the problem, participation in operational planning, participation in planned action, and participation in monitoring and evaluation. People with different personal attribute factors had no difference in public participation in tourism development at the statistical significance level of 0.05. It is suggested that Pattaya should provide documents creating a sense of responsibility and broadcast its natural resources and the environment in the tourist attraction to the people and entrepreneurs in the community to know the right information, understand the importance of natural resources, and participating in conserving tourist attractions. Billboards, signs and brochures should be produced to advertise tourist sites and rules of tourist attraction for both Thai people and foreign tourists in the community.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการสาธารณะ
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account