dc.contributor.advisor |
ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์ |
|
dc.contributor.author |
สิริกานต์ ใบบัว |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T02:47:43Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T02:47:43Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6418 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวโน้มในการกลับมาท่องเที่ยวเขื่อนศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุรีของนักท่องเที่ยวชาวไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการมาท่องเที่ยวเขื่อนศรีนครินทร์ 2) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อแนวโน้มการกลับมาท่องเที่ยวเขื่อนศรีนครินทร์ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มการกลับมาท่องเที่ยว เขื่อนศรีนครินทร์ โดยผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 ตัวอย่าง ซึ่งเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวเขื่อนศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุรีสถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA F-test, t-test) และการทดสอบสมมติฐาน โดยวิธีการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple linear regressions) และวิธีการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple linear regressions) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มประชากรตัวอย่างทั้งสิ้น 400 ราย เป็นเพศหญิง 218 คน เพศชาย 182 คน มีอายุระหว่าง 26-35 ปี สถานภาพสมรส มีการศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพเป็นพนักงาน บริษัทเอกชน โดยมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนระหว่าง 20,001-30,000 บาท ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุสถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน ส่งผลต่อความผูกพันต่อสถานที่เขื่อนศรีนครินทร์ ไม่แตกต่างกัน และปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจมาท่องเที่ยวเขื่อนศรีนครินทร์ของนักท่องเที่ยวชาวไทยได้แก่ สิ่งอำนวยความสะดวกการเข้าถึงสถานที่ท่องเที่ยวและชุมชนท้องถิ่น มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อสถานที่ท่องเที่ยวเขื่อนศรีนครินทร์ของนักท่องเที่ยวชาวไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01โดยมีอิทธิพลทางบวกและความผูกพันต่อสถานที่เขื่อนศรีนครินทร์ของนักท่องเที่ยวชาวไทย มีอิทธิพลต่อแนวโน้มการตัดสินใจกลับมาท่องเที่ยวเขื่อนศรีนครินทร์จังหวัดกาญจนบุรีของนักท่องเที่ยวชาวไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีอิทธิพลทางบวก |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
นักท่องเที่ยว |
|
dc.subject |
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร |
|
dc.subject |
เขื่อนศรีนครินทร์ |
|
dc.subject |
นักท่องเที่ยว -- ทัศนคติ |
|
dc.subject |
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ |
|
dc.title |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวโน้มในการกลับมาท่องเที่ยวเขื่อนศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุรี ของนักท่องเที่ยวชาวไทย |
|
dc.title.alternative |
The fctors ffecting possibility of the repeted visit of thi tourists to sringrind dm, knchnburi |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The research studies the factors affecting possibility of the repeated visit of Thai tourists to Srinagarind Dam, Kanchanaburi Province. The aims of this study were 1) to examine the behaviors of tourists at Srinagarind Dam, Kanchanaburi Province, 2) to compare the effects of personal factors on the possibility of the repeated visit to Srinagarind Dam, and 3) to examine the factors affecting possibility of the repeated visit of Thai tourists to Srinagarind Dam. Sample group was 400 Thai tourist who visited Srinagarind Dam, Kanchanaburi Province. The descriptive statistics used to analyze data were frequency, percentage, mean, and standard deviation. The hypothesis testing was done by using One-way ANOVA F-test and t-test, simple linear regressions, and multiple linear regressions. The findings showed that there 218 respondents who were women and 182 were men. They were in the age range of 26-35 year old. They were married. They reported holding bachelor degree and work for private companies. They earned 20,001-30,000 baht monthly. The findings on the hypothesis testing showed that tourists with different personal factors, i.e. gender, age, marital status, level of education, careers, and income had similar sense of engagement to Srinagarind Dam. The factors affecting decision to travel at Srinagarind Dam included facilities, convenience of commute, and local atmosphere. These factors affected the sense of engagement to Srinagarind Dam at the significance level of 0.01. There was a positive effect of this factor. The sense of engagement to Srinagarind Dam of Thai tourists had a positive effect on the repeated visit to Srinagarind Dam, Kanchanaburi Province at the significance level of 0.01. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร |
|
dc.degree.name |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|