dc.contributor.advisor | ภัทรี ฟรีสตัด | |
dc.contributor.author | มนิชญา ขำสอน | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:47:43Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:47:43Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6417 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูง หัวหน้างานฝ่ายปฏิบัติการ และพนักงานปฏิบัติการที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการบริหารงาน และการจัดการขนส่งของบริษัท AAA Logistics จํากัด จํานวน 17 คน ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พื้นที่บรรจุสินค้าภายในรถขนส่ง ลดต้นทุนในการขนส่ง และป้องกันสินค้าเกิดการเสียหายจากการขนส่งของบริษัท AAA Logistics จํากัด ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ พนักงานฝ่ายปฏิบัติการ และผู้บริหารระดับสูง รวมถึงความคิดเห็นของผู้บริหารที่มีต่อความคิดเห็นของฝ่ายปฏิบัติการ แนวทางที่มีความคิดเห็นเยอะเป็น 2 อันดับแรก เริ่มจากกลุ่มของหัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ พนักงานฝ่ายปฏิบัติการ เสนอความคิดเห็นเยอะที่สุด 2 อันดับแรก คือ ทําพาเลทสินค้าให้หน้าเรียบ รับสินค้า รวมกัน ทําตะแกรงใส่สินค้า กลุ่มของผู้บริหาร เสนอความคิดเห็นเยอะที่สุด 2 อันดับแรก คือ ติดตั้ง ชั้น 2 ชั้น ทําตะแกรงใส่สินค้า รับสินค้ารวมกัน กลุ่มความคิดเห็นของผู้บริหารที่มีต่อความคิดเห็นของฝ่ายปฏิบัติการ ที่มีความคิดเห็นตรงกัน 2 อันดับแรก คือ รับสินค้ารวมกัน และทําตะแกรง ใส่สินค้า ซึ่งเมื่อสรุปทั้ง 3 กลุ่มแล้ว จะมีทั้งหมด 4 แนวทาง คือ ทําพาเลทสินค้าให้หน้าเรียบ รับสินค้ารวมกน ทําตะแกรงใส่สินค้า ติดตั้งชั้น 2 ชั้น ซึ่งข้อเสนอที่เห็นตรงกันทั้ง 4 หัวข้อนี้ ส่งผลให้ประสิทธิภาพการบรรจุสินค้าบนรถขนส่งนั้นเพิ่มขึ้น ซึ่งสามารถลดต้นทุนจากการขนส่งได้ และยังทําให้สินค้ามีความปลอดภัยในระหวางการขนส่งอีกด้วย โดยที่เมื่อเรามาวิเคราะห์ทั้ง 3 กลุ่ม พร้อมกัน แนวทางที่มีความคิดเห็นตรงกันทั้ง 3 กลุ่ม มี 2 วิธี คือ รับสินค้ารวมกัน และทําตะแกรงใส่สินค้า ซึ่งทั้ง 2 วิธี สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบรรจุสินค้าบนรถขนส่ง ลดต้นทุนการขนส่ง และป้องกันสินค้าไม่ให้เกิดความเสียหายอีกด้วย หลังจากที่เราได้แนวทางแล้ว จากนั้นเราจะนํามา เข้าสู่กระบวนการ PDCA ซึ่งเป็นหัวใจสําคัญของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยการมาทําแผนการปรับปรุง (P) นําไปปฏิบัติ (D) ระหว่างการปฏิบัติก็ดําเนินการตรวจสอบ (C) พบปัญหาก็ทําการแก้ไขหรือปรับปรุง (A) การปรับปรุงก็เริ่มจากการวางแผนก่อน วนไปได้เรื่อย ๆ จึงเรียกวงจร PDCA | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การขนส่งสินค้า | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.subject | การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน | |
dc.subject | การบริหารงานแบบญี่ปุ่น | |
dc.title | การเพิ่มประสิทธิภาพการบรรจุงานภายในรถขนส่งโดยใช้หลักไคเซนของบริษัท AAA Logistics จำกัด | |
dc.title.alternative | Incresing efficiency in pckging in truck by using kizen principles by AAA Logistics Co., Ltd. | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This qualitative study utilized in-depth interview among target group including 17 main informants: CEO, operational supervisors, operational employees relating to administration work and transportation management of AAA Logistics Co., Ltd. with the attempts to increase efficiency in packaging in truck, reduce cost in transportation, and to prevent product from damage from transportation of AAA Logistics Co., Ltd. The findings reveal that operational supervisors, operational employees and CEO including opinions of CEO toward operation. The top two opinions from operational supervisors, operational employees were making plain palate, assembling product, making screen for product. However, the top two opinions from CEO were stalling two-layer screen, making screen for product, assembling product. The shared opinions were top two opinions including assembling product and making screen for product. When analyzing the finding from three groups of subjects. There were 4 guidelines including: making plain palate, assembling product, making screen for product, stalling two-layer screen. These guidelines could encourage efficiency in packaging in truck, reduce cost in transportation, and to prevent product from damage from transportation as well. After having guidelines, PDCA process, which was a key function of constant improvement was introduced starting from plan (P), do (D), check (C), and Act (A) in a loop like cycle called PDCA cycle. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา |