DSpace Repository

พฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารกึ่งผับในเขตพื้นที่อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศุภสิทธิ์ เลิศบัวสิน
dc.contributor.author สุภกฤษ ภัทรสิรินาถ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:47:42Z
dc.date.available 2023-05-12T02:47:42Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6410
dc.description งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารกึ่ผับในเขตพื้นที่อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้บริการ ร้านอาหารกึ่งผับในเขตอำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง จำนวน 400 ตัวอย่าง ง โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Independent sample t-test, One-way analysis of variance, Pearson product moment correlation coefficient และ Artificial neural network ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 21-30 ปี มีระดับการศึกษามัธยมศึกษา/ ปวช./ ปวส. มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน รายได้ 20,001-30,000 บาทต่อเดือน พักอาศัยอยู่ในเขตอำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง พฤติกรรมของผู้บริโภคในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อของปัจจัยพฤติกรรมของผู้บริโภคในการใช้บริการ พบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่นิยมสั่งอาหารประเภทยา เข้าใช้บริการเพื่อนัดพบปะสังสรรค์เข้าใช้บริการ 3-4 คร้ัง ต่อเดือน ใช้จ่าย จำนวน 1,001-2,000 บาทต่อครั้ง นิยมเข้าใช้บริการในช่วงวันศุกร์-วันเสาร์ ใช้บริการรในช่วงเวลา 18.01-21.00 น. และมีเพื่อน/ เพื่อนร่วมงานเป็นผู้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจใช้บริการและยังพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีพฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารกึ่งผับในเขตื้นที่อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ที่แตกต่างกัน ในด้านค่าใช้จ่ายต่อครั้งที่เข้าใช้บริการการ ด้านเหตุผลที่เลือกเข้าใช้บริการ ด้านจำนวนคร้ังที่เข้าใช้บริการต่อเดือน และด้านช่วงวันที่นิยม เข้าใช้บริการและยังพบอีกว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารกึ่งผับในเขตพื้นที่อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ในด้านจำนวนครั้งที่เข้าใช้บริการต่อเดือน ช่วงวันที่นิยมเข้าใช้บริการ ช่วงเวลาที่นิยมเข้าใช้บริการผู้มีส่วนร่วมในการเข้าใช้บริการและค่าใช้จ่ายต่อครั้งที่เข้าใช้บริการและยังพบอีกว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการร้านอาหารกึ่งผับในเขตอำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง มีลำดับความสำคัญของตัวแปรจากมากไปน้อยในแต่ละด้านต่างกัน
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร
dc.subject ร้านอาหาร -- ระยอง
dc.subject ผับ -- ไทย -- ระยอง
dc.title พฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารกึ่งผับในเขตพื้นที่อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
dc.title.alternative The consumer purchsing behvior of semi-pub resturnt in mung district, ryong province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to investigate the factors influencing the purchasing behavior a semi-pub restaurant of consumers in Muang District, Rayong Province, and there were 400 consumers in a sample group. Questionnaires were used as a tool to collect data. Statistics used for data analysis consisted of descriptive statistics including frequency, percentage, mean, and standard deviation and inference statistics including independent sample t-test, One-way Analysis of variance, Pearson product moment correlation coefficient and artificial neural network The findings of the research indicated that most of the respondents were male consumers aged from 21 to 30 years old, having secondary/ vocational certificate/ or high vocational diploma, working as a private company employees with income of 20,001-30,000 baht per month, and living in Muang District, RayongProvince. Overall consumer purchasing behavior was at a high level. When the individual factor of consumer purchasing behavior of the service was considered, it was found that the food that most consumers preferredto order was spicy salad. They visited the semipub restaurant 3 to 4 times per month, and they spent around 1,001-2,000 baht per visit. The day they preferred to visit the restaurant was from Friday to Saturday and the time they liked to visit the restaurant was from 18.01 p.m. to 21.00 p.m. The person who participated in decision making to use the service was a friend or colleague. Moreover, it was found that the difference in personal factors influenced the different consumer purchasing behavior of semi-pub restaurant in the Rayong District in terms of cost per visit, the reason for the service selection, the number of visiting times per month, and the favorite date range. It was also found that the marketing mix factor was correlated with the purchasing behavior of a semi-pub restaurant in Muang Rayong District, Rayong province in terms of the number of visiting times per month, the favorite date range they had an access to the service, favorite visiting time, participants in using the service., and the cost per visit. Moreover, in the semipub restaurants in Muang District of Rayong Province which were variables and were put in the order from the most to the least, each aspect of the factors affecting the selection was different
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account