DSpace Repository

การเลือกใช้บริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ของบริษัทในเขตอุตสาหกรรมภาคตะวันออก : กรณีศึกษาโรงพยาบาล ABC

Show simple item record

dc.contributor.advisor กฤช จรินโท
dc.contributor.author ตรีทิพยนิภา พุ่มจันทร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:47:39Z
dc.date.available 2023-05-12T02:47:39Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6395
dc.description งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง การเลือกใช้บริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ของบริษัทในเขตอุตสาหกรรมภาคตะวันออก: กรณีศึกษาโรงพยาบาล ABC เพื่อศึกษาด้านคุณภาพการบริการและส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ของบริษัทในเขตอุตสาหกรรม ภาคตะวันออกเพื่อศึกษาแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดและการพัฒนาคุณภาพบริการ ของโรงพยาบาล ABC เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก ทำการสัมภาษณ์บริษัทที่เคยใช้บริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ของโรงพยาบาล ABC และบริษัทที่ไม่เคยใช้บริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ของโรงพยาบาล ABC ในด้านของคุณภาพการบริการและด้านส่วนประสมทางการตลาด ผลการศึกษาพบว่า ด้านปัจจัยคุณภาพการให้บริการประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) ความเป็นรูปธรรมของการบริการควรเพิ่มเติมป้ายบอกจุดตรวจต่าง ๆ จัดเจนให้มีคำแนะนำ หรือวิธีการปฏิบัติในการตรวจแต่ละจุด รูปเล่มการรายงาน ควรเพิ่มเติมสรุปผลในเล่มรวม และเพิ่มใบ Certificate ของแพทย์ในรายงานผลเล่มรวม 2) ความเชื่อถือไวว้างใจได้การส่งรูปเล่ม การรายงานผลถูกต้องครบถ้วนภายใน 3 สัปดาห์ 3) การตอบสนองต่อลูกค้า ควรให้การบริการที่รวดเร็วและจัดอัตรากำลังให้เหมาะสมกับจำนวนพนักงานเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารของเจ้าหน้าที่มากขึ้น 4) การให้ความเชื่อมั่นต่อควรมีการทวนสอบชื่อนามสกุลของผู้รับบริการทุกจุด ควรเพิ่มทักษะและความชำนาญให้กับเจ้าหน้าที่ที่ทำการเจาะเลือด 5) การรู้จักและเข้าใจลูกค้า ทางโรงพยาบาลพยายามที่จะเข้าใจความต้องการของลูกค้าและสามารถตอบสนองความต้องการ ได้เป็นอย่างดีด้านส่วนประสมทางการตลาดประกอบด้วย 7 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการบริการควรให้แพทย์ซักถามมากกว่านี้ 2) ด้านราคามีความเหมาะสมกับการบริการที่ได้รับ 3) ด้านความสะดวกสบาย ในการเดินทางเข้าไปรับการตรวจในกรณีเก็บตกควรมีบริการรถรับส่งหรือเข้าไปตรวจให้อีก 1 วัน 4) ด้านบริการเสริม สามารถรองรับความต้องการของลูกค้าได้ 5) ด้านบุคลากรเจ้าหน้าที่ให้บริการ อย่างสุภาพ อ่อนโยน ยิ้มแย้ม แจ่มใส 6) ด้านกระบวนการของการตรวจสุขภาพ มีความเหมาะสม ไม่ซับซ้อน 7) ด้านองค์ประกอบทางกายภาพ เจ้าหน้าที่มีความกระตือรือร้นในการให้บริการ มีการเจรจาที่สุภาพอ่อนโยน
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject สุขภาพ -- การดูแล
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร
dc.subject สุขภาพ
dc.title การเลือกใช้บริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ของบริษัทในเขตอุตสาหกรรมภาคตะวันออก : กรณีศึกษาโรงพยาบาล ABC
dc.title.alternative selection of mobile helth check-up services of compnies in the estern industril prk: cse study of bc hospitl
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The research had objectives to study the ABC Hospital service quality, marketing mix that affected the selection of the service of mobile health check-up of companies in Eastern Industrial Zone and the marketing strategy and service quality development of ABC Hospital. The study was a qualitative research using in-depth interview. Interviews were conducted with employees of the companies who had used the mobile health check-up serviceof ABC Hospital. and those who had never used the services in terms of service quality and marketing mix. The results showed that the service quality consisted of five main components: 1) the tangibles of the service: it was suggested that more signs should be provided to direct them and to give them instructions or practices in each spot; and the summary of the results and doctor's certificate should be added in the booklet in the whole report . 2) Reliability: accurate results should be delivered within 3 weeks. 3) Customer responsiveness: fast service should be provided to meet the number of employees and staff’s communication efficiency should be improved. 4) Assurance: the name of every service recipient should be verified and skills and expertise should be added to blood drawers. 5) Empathy: the hospital employees should try to understand and meet the needs of their customers very well. The marketing mix consists of 7 aspects: 1) service: the doctor should ask patients much more details, 2) the price: it should be appropriate for the service received, 3) the convenience of travel to the hospital in case there is additional check-up service: there should be a shuttle service for the hospital visit on another day, 4) additional services: the services should support the customers’ need, 5) personnel: the staff should be courteous, cheerful and in good spirits, 6) the process of health check-up: it should be suitable but not be complicated, and 7) physical evidence: the personnel should be eager to provide gentle courteous service.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account