DSpace Repository

แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปากกาหุ้มจักสานไม้ไผ่ของโรงเรียนวังหลังวิทยาคม ตำบลทุ่งมหาเจริญ อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว

Show simple item record

dc.contributor.advisor อำนาจ สาลีนุกุล
dc.contributor.advisor ทักษญา สง่าโยธิน
dc.contributor.author วรารัตน์ เชษฐานันท์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:47:35Z
dc.date.available 2023-05-12T02:47:35Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6375
dc.description วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการวางตำแหน่งของผลิตภัณฑ์ปากกาหุ้มจักสาน ไม้ไผ่ของโรงเรียนวังหลังวิทยาคม ตำบลทุ่งมหาเจริญ อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว 2) เพื่อศึกษาการรับรู้ แบรนด์ที่มีผลต่อแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปากกาหุ้มจักสานไม้ไผ่ของโรงเรียนวังหลังวิทยาคม ตำบลทุ่งมหาเจริญ อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปากกาหุ้มจักสานไม้ไผ่ ของโรงเรียนวังหลังวิทยาคม ตำบลทุ่งมหาเจริญ อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว ผลการวิจัย พบว่า การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ตามคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ผู้ผลิตควรที่จะเพิ่มลวดลายให้มากขึ้น เพิ่มสีสันแต่ไม่มากจนเกินไปเพื่อคงความเป็นเอกลักษณ์ของสีที่มาจากไม้ไผ่การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์เมื่อเปรียบเทียบกับ ปากกาทั่วไปผู้ผลิตควรที่จะเพิ่มการเคลือบเงาเพื่อให้ผิวสัมผัสไม่หยาบ การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ด้านคุณภาพและราคาผู้บริโภคควรเพิ่มบรรจุภัณฑ์เพื่อให้เหมาะสมกับราคาที่ตั้งไว้ ส่วนคุณภาพของผลิตภัณฑ์อยู่แล้วราคาจึงสูงขึ้นตามการกำหนดตำ แหน่งผลิตภัณฑ์ด้านประโยชน์ที่จะได้รับผู้ผลิตควรเน้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความปราณีตน่าสะสมมีลวดลายสวยงามมอบให้เป็นของที่ระลึก การกำหนด ตำแหน่งผลิตภัณฑ์ด้านการนำไปใช้ผู้ผลิตควรเน้นให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันสามารถใช้งานได้จริง การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ด้านประสมประสานผู้ผลิตควรเลือกหลาย ๆ ปัจจัยในการกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมคือ การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์แบบประสมประสาน การมีหลายปัจจัยทำให้เพิ่มประสิทธิภาพในการวางตำแหน่งของผลิตภัณฑ์เพื่อส่งผลต่อการวางแผนการตลาดให้กับผลิตภัณฑ์การรับรู้แบรนด์ด้านการสร้างอัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ผู้ผลิตควรเน้นสร้างภาพลักษณ์ให้ผลิตภัณฑ์โดยเน้นลวดลายสวยงามปราณีตเน้นลายไทยดังเดิมและเพิ่มเติมลวดลายกราฟฟิกและการใช้วัสดุ ธรรมชาติมาทำงานหัตถกรรมจักสาน การรับรู้แบรนด์ด้านการสร้างภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ผู้ผลิตควรสร้างภาพลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ว่าเป็นผลงานของนักเรียนและโรงเรียนสามารถสร้างรายได้เสริมได้เป็นการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นทำให้เป็นผลิตภัณฑ์พรีเมี่ยม การรับรู้แบรนด์ด้านการสร้างคุณค่าที่แท้จริงให้กับผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิตสามารถสร้างผลิตภัณฑ์ให้เป็นผลิตภัณฑ์ของโรงเรียนและสร้างรายได้เสริมให้กับนักเรียนรวมถึงสามารถต่อยอดเป็นอาชีพหลักที่มั่นคงได้ต่อไปในอนาคต เกิดการซื้อซ้ำ คุณค่าที่แท้จริงมีผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคเพราะการสร้างคุณค่าที่แท้จริงนั้น ต้องมาจากความรู้สึกนึกคิดในด้านภายในใจ สังคมปัจจุบัน มีส่วนร่วมในการสนับสนุนผลิตภัณฑ์ของชุมชนและสนับสนุนการสร้างชื่อเสียงให้กับคนในชุมชนมากขึ้น
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ปากกาหุ้มจักสาน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการธุรกิจโลก
dc.subject เครื่องจักสาน?aไทย -- สระแก้ว
dc.title แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปากกาหุ้มจักสานไม้ไผ่ของโรงเรียนวังหลังวิทยาคม ตำบลทุ่งมหาเจริญ อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
dc.title.alternative Development method of bmboo bsketry pen cover product of wng lng wittyhkom school, thung mh jreon sub-district, wng nm yen district, srkew province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this study were 1) to study product positioning of bamboo basketry pen cover product of Wang Lang Wittayhakom School. 2) to study brand recognition of bamboo basketry pen cover product of Wang Lang Wittayhakom School. And 3) to explore development of bamboo basketry pen cover product of Wang Lang Wittayhakom School. The results of this study showed that the product should be available in more colors and styles but still need to maintain the bamboo base style. The quality and price should be reasonable and affordable. The application should be based on everyday use. The best approach was found in mixed brand positioning by considering mixed factors because this helped increase effectiveness of brand positioning influencing the marketing plan. The result regarding brand recognition showed that identity of the product should be based on a combination of traditional Thai-handmade style and the graphic design. The image of the product should emphasize the work of students in the school as a premium brand and to help the distribution of income in the community. The value of the product should be emphasized in terms of the current stability of its product and growth in the future. Frequent repurchasing influencing the decision making of customers was found in motive of people to help support the community by purchasing product from the community and creating good reputation to everyone in the community.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการธุรกิจโลก
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account