DSpace Repository

รูปแบบการส่งเสริมแรงงานทักษะไทยสู่ สปป.ลาว

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศักดิ์ชาย จันทร์เรือง
dc.contributor.author ณพิชญา เฉิดโฉม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:44:07Z
dc.date.available 2023-05-12T02:44:07Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6356
dc.description ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษารูปแบบการจ้างงานแรงงานทักษะจากประเทศอาเซียนใน 4 วิชาชีพ คือ วิศวกร สถาปนิก นักสำรวจ และนักบัญชีของ สปป.ลาว ศึกษาความต้องการและการสร้างกระบวนการเตรียมความพร้อม 4 วิชาชีพทักษะของไทยที่จะไปทำงาน ณ สปป.ลาว โดยกระบวนการวิจัยแบบประสานวิธี (Mixed methodology) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ผู้เชี่ยวชาญจนกว่าข้อมูลจะอิ่มตัว และประเมินสมรรถนะของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับปริญญาตรีของไทย 4 วิชาชีพ คือ วิศวกร สถาปนิก นักสำรวจ และนักบัญชี สรุปผลการวิจัย พบว่า ผู้ประกอบการที่ได้ให้การสัมภาษณ์เห็นตรงกันว่าลาวนั้น มี ความขาดแคลนแรงงานจริง ซึ่งวิชาชีพที่ขาดแคลนมากที่สุด คือวิศวกร สถาปนิก นักสำรวจ และนักบัญชีมีความต้องการแรงงานไทยไปทำงานนั้น ส่วนใหญ่เห็นตรงกันว่าต้องการอย่างแน่นอน ไทยเป็นแรงงานที่ทาง สปป.ลาว ต้องการคุณสมบัติเบื้งอต้นที่ทาง สปป.ลาว พิจารณา ได้แก่ วุฒิการศึกษา ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน ประวัติการฝึกอบรม ทักษะด้านภาษา ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการทำงานเป็นทีม และสัมภาษณ์ถึงคุณภาพชีวิตในการทำงานของแรงงานทักษะที่จะได้รับหากไปทำงานยัง สปป.ลาว สมรรถนะเฉพาะของ 4 แรงงาน ทักษะตำแหน่งวศิวกร ตำแหน่งสถาปนิก ตำแหน่งนักสำรวจ ตำแหน่งนักบัญชี การส่งเสริมแรงงานทักษะไทยทั้ง 4 สาขาวิชาชีพ ผู้วิจัยจึงได้ทำการสำรวจสมรรถนะของ นักศึกษาชั้นปีสุดท้ายในระดับอุดมศึกษา เพื่อเป็นข้อมูลในการเตรียมความพร้อมแรงงานทักษะในการออกสู่ตลาดแรงงานในอนาคต และสำรวจความคาดหวังคุณภาพชีวิตในการทำงานของทั้ง 4 วิชาชีพ เมื่อทดสอบสมมติฐานความคาดหวังคุณภาพชีวิตในการทำงานของทั้ง 4 วิชาชีพ มีความแตกต่างกัน ทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .05) และวิเคราะห์สมรรถนะที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตในการทำงานของแต่ละสาขาวชิาชีพ เพื่อให้ทาง สปป.ลาว นั้นจัดสรรคุณภาพชีวิตในการทำงานตามที่สาขาวิชาชีพนั้นต้องการและทางประเทศไทยสามารถส่งเสริมแรงงานแต่ละสาขาวิชาชีพให้มีสมรรถนะที่สามารถไปทำงานยังองค์การที่มีคุณภาพชีวิตตามที่คาดหวังในอนาคต
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การบริหารแรงงาน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาพัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์
dc.subject แรงงาน -- ลาว
dc.title รูปแบบการส่งเสริมแรงงานทักษะไทยสู่ สปป.ลาว
dc.title.alternative Models promoting Thi skilled lborers to work in Lo PDR
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research aimed to study (1) Lao PDR’s employment models of skilled laborers from ASEAN countries in four professions: engineers, architects, surveyors and accountants, (2) needs and (3) preparation process for workers of these professions to work in Laos PDR. Mixed methodology was utilized in this research. In-depth interviews were performed until the data were saturated. In addition, there was evaluation of the capability of the final year Thai undergraduates prepared for these 4 professions, namely engineers, architects, surveyors and accountants. The results of the study showed that the interviewed entrepreneurs agreed that there was a real labor shortage in Lao PDR. The most deprived professions consisted of engineers, architects, surveyors and accountants. To the demand for Thai workers to work in Lao PDR, the entrepreneurs agreed that they certainly needed Thai skilled laborers. Thai laborers were required by entrepreneurs in Lao PDR. The basic qualifications which Lao PDR entrepreneurs put into consideration were educational level, educational qualification, working experiences, training experiences, language skills, information technology skills, and teamwork skills. The entrepreneurs in Lao PDR were also interviewed what the life quality of these 4 professions, namely engineers, architects, surveyors, and accountants was like if Thai laborers were recruited to work in Lao PDR. To promote Thai skilled-laborers in all 4 professions, the researcher conducted a survey on the capability of the final year students in tertiary education in order to use the data for market preparation of skilled-laborers in the future. Moreover, the study was to survey the expectations of work life quality of the four professions in Lao PDR. When hypotheses were tested, all aspects of the life quality in the work of the four professions were differently expected at statistical significance level at .05 (p<.05) and the researcher also analyzed the capability which affected the work life quality of each profession so that Lao PDR would allocate the work life quality desired by each professional field. For Thai government, it was possible to promote each professional workforce to have the capability to work in organizations with expected work life quality in the future.
dc.degree.level ปริญญาเอก
dc.degree.discipline พัฒนาองค์การและการจัดการสมรรถนะของมนุษย์
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account