DSpace Repository

การพัฒนาสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพและสมรรถนะสำคัญในศตวรรษที่ 21 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา

Show simple item record

dc.contributor.advisor สันติพงษ์ ปลั่งสุวรรณ
dc.contributor.advisor สมศักดิ์ ลิลา
dc.contributor.advisor นภพร ทัศนัยนา
dc.contributor.author กิตติวุฒิ อังคะนาวิน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:44:05Z
dc.date.available 2023-05-12T02:44:05Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6346
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและศึกษาผลของการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เรื่อง การพัฒนาสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพและสมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 66 คน ได้กลุ่มตัวอย่างมาด้วยวิธีสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เพื่อแบ่งกลุ่มตัวอย่าง เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การพัฒนาสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน, แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายของสำนักงานกองทุนสนันสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และแบบประเมินสมรรถนะที่สำคัญของเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยความถี่ ร้อยละส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบผลสถิติโดยการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานเรื่อง การพัฒนาสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ และสมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย การระบุปัญหาการแสดงข้อคิดเห็นประเด็นการเรียนรู้และแผนดำเนินงานในการแก้โจทย์ 2. ผลการเปรียบเทียบสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพของนักเรียนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมในการทดสอบลุก-นั่ง 1 นาที และวิ่งระยะทาง 1,200 เมตร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนในการทดสอบดัชนีมวลกาย (BMI) ดันพื้น 30 วินาที และนั่งงอตัว ไปข้างหน้า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญ และผลการเปรียบเทียบสมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject สมรรถภาพทางกาย
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.subject การเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน
dc.title การพัฒนาสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพและสมรรถนะสำคัญในศตวรรษที่ 21 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
dc.title.alternative Development of physicl fitness relted to helth nd performnce of lerners in the 21st century by problem-bsed lerning for elementry students
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research aims to establish and to study the effects of using the learning management model in physical fitness development related to health and performance of learners in 21st century by using problem-based learning management. The participants consisted of 66 fifth grade students with similar physical fitness by using cluster random sampling method to divide the participants into experimental and control groups. The research instruments for this study were the lesson plan “Development of physical fitness related to health and performance of learners in the 21st century by problem-based learning”, physical fitness test of Thai Health Promotion Foundation and health, and performance test for learners in the 21st century. The data analysis was performed by means of frequency, percentage, standard deviation and t-test. The results of this study divided into two parts: 1. The results of the problem-based learning management “development of physical fitness related to health and performance of learners in the 21st century for elementary students included fact, ideas, learning issues and action plan. 2. The results of the comparison of physical fitness development between the experimental and control group in 1-minute sit-up test and 1,200-meter run differed significantly at .05. The body mass index (BMI), push-up 30 seconds and sit and reach were no significant difference. The comparison of developments of significant competencies of students in the 21st century between the experimental and control groups was statistically significant difference at .05.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account