DSpace Repository

พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตำบลขนงพระ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา

Show simple item record

dc.contributor.advisor เทียนแก้ว เลี่ยมสุวรรณ
dc.contributor.author นฤมล ด่านตระกูล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:42:23Z
dc.date.available 2023-05-12T02:42:23Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6311
dc.description งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การศึกษาเรื่อง “พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตำบลขนงพระ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา” มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตำบลขนงพระ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตำบลขนงพระ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้และระยะเวลาที่อยู่อาศัยในเขตตำบลขนงพระเก็บข้อมูลจากการเก็บแบบสอบถาม โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) โดยใช้การทดสอบค่าที(t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างรายคู่ใช้วิธีการทดสอบความแตกต่างรายคู่ (Post hoc) โดยวิธี LSD ที่ระดับนัยสeคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตำบลขนงพระ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ภาพรวมอย่ในระดับไม่ปฏิบัติเลย เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการนำกลับมาใช้ใหม่มีค่าเฉลี่ยมากเป็นอันดับที่ 1 รองลงมา คือ ด้านการคัดแยกขยะมูลฝอย และด้านการลดขยะมูลฝอย ตามลำดับ ส่วนผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตำบลขนงพระ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามสถานภาพส่วนบุคคล พบว่า ประชาชนที่มีเพศอายุ ระดับการศึกษาและอาชีพต่างกัน มีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนประชาชนที่มีรายได้และระยะเวลาที่อยู่อาศัยในเขตความรับผดิชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลขนงพระต่างกัน มีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยไม่แตกต่างกัน
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การกำจัดขยะ
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.subject การกำจัดขยะ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
dc.title พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตำบลขนงพระ อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
dc.title.alternative Public behviour on wste mngement in Khnongpr sub-district dministrtive orgniztion, Amphoe Pk Chong, Nkhon Rtchsim province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was twofold.First, it aimed at examining public behavior on waste management in Khanongpra Sub-district Administrative organization, Amphoe Pak Chong, Nakhon Ratchasima Province. Also, this study attempted to compare the differences of behavior among these people on their waste management as classified by gender, age, educational level, occupation, income, and length of residency in Khanongpra Sub-district. The data were collected by a questionnaire, completed by 400 subjects. The test statistics used to analyze the collected data included frequency, percentage, means, standard deviation, t-test, and One-way ANOVA. Also, the post hoc analysis was conducted by administering the test of LSD to determine the differences between pairs with a preset significant level at .05. The results of the study revealed that the subjects’ behavior on waste management was extensively found at a level of “never do at all.” When considering each aspect, it was shown that the practice of reuse was rated the highest, followed by the practice of waste separation and reduction, respectively. Also, based on the comparisons of the subjects’ behavior on waste management as classified by personal factors, it was found that there were statistically significant differences in behavior on waste management among the subjects with different gender, age, educational level, and occupation at a significant level at .05.Finally, no statistically significant differences were found in the behavior on waste management among the subjects with different income and length of residency in the area under the responsibility of Khanongpra Sub-district Administrative organization.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.degree.name รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account