dc.contributor.advisor | กิจฐเชต ไกรวาส | |
dc.contributor.author | สิทธิศักดิ์ สิทธิกุล | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:42:22Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:42:22Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6309 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับขวัญ และกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการชั้นประทวนศูนย์ฝึกทหารใหม่ กรมยุทธศึกษาทหารเรือโดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการชั้นประทวนศูนย์ฝึกทหารใหม่กรมยุทธศึกษาทหารเรือ 2) เพื่อศึกษาระดับขวัญ และกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการชั้นประทวนศูนย์ฝึกทหารใหม่ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับขวัญ และกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการชั้นประทวนศูนย์ฝึกทหารใหม่กรมยุทธศึกษาทหารเรือโดยใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 150 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย () และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน () และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (r) ผลการศึกษา พบว่า แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการชั้นประทวนศูนย์ฝึกทหารใหม่ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ภาพรวมและทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านสถานะทางอาชีพและความก้าวหน้าในอาชีพ มีค่าเฉลี่ยมากเป็นอันดับที่ 1 รองลงมาคือ ด้านสภาพทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมในที่ทำงาน ด้านนโยบายและการบริหารของหน่วยงาน ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านความสำเร็จในการทำงาน ด้านความพึงพอใจที่เกิดขึ้นจากงานที่ได้รับมอบหมาย ด้านความรู้สึกมั่น คง ในอาชีพและความมั่นคงของหน่วยงาน ด้านเงินเดือนและสวัสดิการและด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน ตามลำดับ ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการชั้นประทวน ศูนย์ฝึกทหารใหม่กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ภาพรวมและทุกด้านอยู่ในระดับมากเมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับผู้ร่วมงาน มีค่าเฉลี่ยมากเป็นอันดับที่ 1 รองลงมาคือ ด้านความรู้สึกมั่นคงในอาชีพการงาน ด้านความผูกพันต่อองค์กรและด้านความรู้สึกในการได้รับ การยอมรับในผลสำเร็จของงาน ตามลำดับ ส่วนผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการชั้นประทวนศูนย์ฝึกทหารใหม่ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ พบว่า แรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้านปัจจัยค้ำจุน แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ด้านปัจจัยกระตุ้น และแรงจูงใจในการปฏิบัติงานในภาพรวมไม่มีความสัมพันธ์กับขวัญ และกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการชั้นประทวนศูนย์ฝึกทหารใหม่กรมยุทธศึกษาทหารเรือที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน | |
dc.subject | ขวัญในการทำงาน | |
dc.subject | แรงจูงใจในการทำงาน | |
dc.subject | ข้าราชการ | |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการชั้นประทวนศูนย์ฝึกทหารใหม่ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ | |
dc.title.alternative | The reltionship between work motivtion nd morle mong non-commissioned government officers t new recruit militry trining center, nvl eductionl deprtment | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was threefold. First, it aimed at examining a level of work motivation among non-commissioned government officers, working for a New Recruit Military Training Center, Naval Educational Department. Also, this study intended to investigate a level of work morale among these officers. The third purpose of this study was to determine the relationship between work motivation and morale of these government officers. The subjects participating in this study were 150 officers. The statistical tests used to analyze the data included frequency, percentage, means, standard deviation, and the test of Pearson product moment coefficient. The results of this study revealed that the level of work motivation among noncommissioned government officers, working for the New Recruit Military Training Center, Naval Educational Department was at a high level. When considering each aspect of work motivation, the ones in relation to occupational status and job advancement were rated at the highest level, followed by the work physical environment, policy and administration of organization, acceptance and respect, work achievement, satisfaction with jobs assigned, job and organizational security, salary and fringe benefits, and relationship with supervisors and colleagues, respectively. Also, regarding the level of work morale among these noncommissioned government officers, it was rated at a high level. Specifically, the aspect of the unity among colleagues was rated at the highest level, followed by job-related security, organizational commitment, and feeling of being accepted for job achievement, respectively. Finally, it was shown that both supportive and encouraging motivational factors did not correlate with work morale among the non-commissioned government officers, working for the New Recruit Military Training Center, Naval Educational Department at a significant level of .05. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน | |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา |