dc.contributor.advisor | เทียนแก้ว เลี่ยมสุวรรณ | |
dc.contributor.author | โชติกา คงพริ้ว | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:39:19Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:39:19Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6272 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการนํานโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไปปฏิบัติของหน่วยบริการปฐมภูมิในเขตจังหวัดชลบุรี และเพื่อเปรียบเทียบระดับปัญหาและอุปสรรคในการนํานโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไปปฏิบัติ จําแนกตามปัจจัยบุคคลของบุคลากรและปัจจัยด้านองค์กร กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรในหน่วยบริการปฐมภูมิ ในเขตจังหวัด ชลบุรี จํานวน 200 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอยางแบบกลุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานการวิจัยโดยใช้การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย Independent sample t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และใช้ค่า Brown-Forsythe และค่า Welch วิเคราะห์ข้อมูลแทน หากพบว่า Levene’s test ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด และทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการทดสอบ Scheffe และ Dunnett T3 โดยกำหนดระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 ผลการศึกษา พบว่า บุคลากรที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิในเขตจังหวัดชลบุรี มีปัญหาและอุปสรรคในการนํานโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไปปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีปัญหาและอุปสรรคในด้านโครงสร้างมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ และด้านสถานที่ ส่วนด้านวัสดุอุปกรณ์เป็นด้านที่เป็นปัญหาและอุปสรรคน้อยที่สุด ผลการเปรียบเทียบระดับปัญหาและอุปสรรคในการนํานโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไปปฏิบัติ จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ อายุราชการ อายุการทํางาน ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ตําแหน่งงาน และงานที่รับผิดชอบที่แตกต่างกันมีปัญหาและอุปสรรคในนํานโยบายหลักประกนสุขภาพถ้วนหน้าไปปฏิบัติไม่แตกต่างกัน แต่บุคลากรที่มีสถานภาพสมรส แตกต่างกันมีปัญหาและอุปสรรคในการนํานโยบายหลักประกันสุขภาพไปปฏิบัติแตกต่างกันอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อจําแนกตามปัจจัยด้านองค์กร พบว่า จํานวนอาสาสมัครในพื้นที่รับผิดชอบและประชากรในพื้นที่รับผิดชอบที่แตกต่างกันมีปัญหาและอุปสรรคในนํานโยบายหลักประกนสุขภาพถ้วนหน้าไปปฏิบัติไม่แตกต่างกัน ส่วนจํานวนบุคลากรในหน่วยงาน จํานวน หมู่บ้านในพื้นที่รับผิดชอบ และจํานวนครัวเรือนในพื้นที่รับผิดชอบ ที่แตกต่างกันมีปัญหาและอุปสรรคในการนํานโยบายหลักประกนสุขภาพถ้วนหน้าไปปฏิบัติแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ประกันสุขภาพ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป | |
dc.title | ปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไปปฏิบัติของหน่วยบริการปฐมภูมิในเขตจังหวัดชลบุรี | |
dc.title.alternative | Problems nd obstcles of implementing policies on universl coverge scheme in primry helth cre units | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to investigate the problems and obstacles in implementing policies on universal coverage scheme facing primary health care units. Also, this study intended to compare a level of problems and obstacles in implementing policies on universal coverage scheme facing primary health care units as classified by personal and organizational factors. The subjects participating in this study were 200 health care personnel working for primary health care units in Chon Buri Province. They were recruited by a cluster sampling technique. The instrument used to collect the data was a questionnaire. The descriptive statistical tests used to analyze the collected data included frequency, percentage, means, and standard deviation. To test the research hypotheses, the tests of independent sample t-test and One-way ANOVA were administered. Also, the test of Brown-forsythe and Welch was used if the violation to the assumption of Levene’s test was found. The tests of Scheffe and Dunnett T3 were also administered to test the differences between pairs. The results of this study revealed that the level of the problems and obstacles in implementing policies on universal coverage scheme faced by primary health care personnel was at a low level. When considering each aspect of problems and obstacles, the one in relation to structure was rated the highest, followed by the problems relating to personnel, budget, and venue, respectively. The problem in relation to medical tool /equipment was rated at the lowest level. In addition, based on the results from the comparisons, it was shown that there were no statistically significant differences in the level of problems and obstacles in implementing policies on universal coverage scheme among health care personnel who had different gender, age, work length, years in working, educational level, average amount of monthly income, work position, and responsible jobs. Moreover, a statistically significant difference was found in the level of problems and obstacles in implementing policies on universal coverage scheme among health care personnel who had different marital status at a significant level of .05. When classified by organization factors, it was shown that there were no statistically significant differences in the level of problems and obstacles in implementing policies on universal coverage scheme among primary health care units where there were differences in the numbers of health care volunteers and population in responsibility. Finally, statistically significant differences were found in the level of problems and obstacles in implementing policies on universal coverage scheme among primary health care units where there were differences in the numbers of working personnel, numbers of responsible villages, and numbers of households at a significant level of .05. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | การบริหารทั่วไป | |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา |