DSpace Repository

การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด : ?bศึกษากรณี อำเภอแกลง จังหวัดระยอง

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุปราณี ธรรมพิทักษ์
dc.contributor.author อธิพงษ์ ตันศิริ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:39:17Z
dc.date.available 2023-05-12T02:39:17Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6257
dc.description งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเขตอำเภอแกลง จังหวัดระยอง และ (2) เปรียบเทียบ ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเขตอำเภอแกลง จังหวัดระยอง จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน และสถานะในครอบครัว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ประชาชนที่มีชื่อตามทะเบียนราษฎร์ และอาศัยอยู่หมู่บ้าน/ ชุมชนในเขตอำเภอแกลง จังหวัดระยอง ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป จำนวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามสถิติที่ใช้ประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ได้แก่ การแจกแจง ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน (Inferential statistics) ได้แก่ t-test (Independent samples) F-test (One-way ANOVA) และเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธี LSD (Least significant difference) ผลการศึกษา พบว่า ประชาชนในเขตอำเภอแกลง มีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายขั้นตอน พบว่า การมีส่วนร่วม ในการรับผลประโยชน์เป็นอันดับ 1 อยู่ในระดับมาก รองลงมา คือการมีส่วนร่วม ในการประเมินผลการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ ตามลำดับ และลำดับสุดท้าย อยู่ในระดับน้อย คือ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ส่วนผลการเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเขตอำเภอแกลง จังหวัดระยอง จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน และสถานะในครอบครัว พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน และสถานะในครอบครัว ต่างกัน มีส่วนร่วมในการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ยาเสพติด -- การป้องกันและควบคุม -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.title การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด : ?bศึกษากรณี อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
dc.title.alternative Public prticiption in prevention nd resolution of nrcotic drugs : b cse study of Amphoe Kleng, Ryong province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was twofold. First, it aimed at examining a level of public participation in the prevention and resolution of narcotic drugs in Amphoe Kleang, Rayong Province. Also, this study attempted to compare the level of public participation as classified by gender, age, educational level, occupation, amount of monthly income, and status in family. The subjects participating in this study were 400 people whose names were registered with the Civil Registration Section and resided in the villages/communities located in Amphoe Kleang, Rayong Province. They were recruited by a stratified sampling technique. The instrument used to collect the data was a questionnaire. The descriptive statistical test used to analyze the collected data included frequency, percentage, means, and standard deviation. Also, the inferential statistical tests, including independent t-test, F-test, and One-way ANOVA were administered. The least significant difference test (LSD) was also used to test the differences between pairs. The results of this study revealed that the level of public participation in the prevention and resolution of narcotic drugs in Amphoe Kleang, Rayong Province was at a high level. Specifically, the aspect of participation in relation to receiving benefits was rated the highest, followed by the aspects relating to evaluation, cooperation, and decision-making, respectively. Finally, based on the results from the comparisons, it was shown that there were statistically significant differences in the level of participation in the prevention and resolution of narcotic drugs in Amphoe Kleang, Rayong Province among the subjects with different gender, age, educational level, occupation, amount of monthly income, and status in family at a significant level of .05.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.degree.name รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account