DSpace Repository

พฤติกรรมการออมของประชาชนในเขตพื้นที่เมืองพัทยาจังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor กฤษฎา นันทเพ็ชร
dc.contributor.author นเรศ หนองใหญ่
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:37:27Z
dc.date.available 2023-05-12T02:37:27Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6231
dc.description งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อศึกษาพฤติกรรมการออมของประชากรเขตพื้นที่เมืองพัทยาจังหวัดชลบุรีและเพื่อเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการออมของประชากรเขตพื้นที่เมืองพัทยาจำแนกตามเพศอายุระดับการศึกษา สถานภาพ จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนในเขตพื้นที่เมืองพัทยาจำนวน 400 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก ทำการวิจัยโดยใช้เครื่องมือวิจัยคือแบบสอบถาม โดยใช้การวัดข้อมูลด้วยสถิติในการวิจัย คือ การแจกแจงความถี่ค่าร้อยละ  % SD และค่า t-test, F-test โดยใช้สถิติทดสอบที่ระดับนัยสําคัญที่ 0.05 กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้ต่อเดือน 20,001-30,000 บาท วัตถุประสงค์การจ่ายเงินโดยเฉลี่ยแต่ละเดือน เพื่อซื้อสินค้า/ บริการที่จำเป็นสำหรับชีวิตเพื่อให้เงินกับบุพการีหรือครอบครัวภาระรับผิดชอบ โดยเฉลี่ยแต่ละเดือนโดยเฉลี่ยแต่ละเดือน ส่วนใหญ่เพื่อน ญาติ พี่น้อง หนี้สินเฉลี่ยต่อเดือน ไม่เกิน 10,000 บาท ลักษณะทรัพย์สินที่ออม ออมในรูปทรัพย์สินเงินฝาก หุ้น พันธบัตร บาท ออมในรูปทรัพย์สินทองคํา อัญมณี รูปทรัพย์สินทางการเงินที่ออมในระบบฝากกับธนาคารประเภทฝากออมทรัพย์เก็บเงินสดไว้ในมือและทำประกันชีวิตโดยมีการจ่ายเงิน เพื่อสะสมระยะยาว รูปทรัพย์สินทางการเงินที่ออมนอกระบบ เล่นแชร์และออกเงินกู้วัตถุประสงค์ของการออม เพื่อซื้อทรัพย์สินเพื่อใช้จ่ายยามฉุกเฉิน และเพื่อเก็บไว้ใช้ในยามชราเกษียณอายุตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ระดับการออมต่อพฤติกรรมการออม พบว่า พฤติกรรมการออมในภาพรวม อยู่ในระดับการออมพอใช้ (  =1.14) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า (ส่วนใหญ่ออมเงินโดยการนำเงินไปฝากธนาคารอยู่ในระดับการออมเกือบทุกเดือน (  = 2.15) รองลงมาได้แก่ ออมโดยเก็บเงินสดไว้ในมือที่ทำงาน อยู่ในระดับการออมเกือบทุกเดือน (  = 2.10) ออมในรูปสินทรัพย์ถาวรอยู่ในระดับการออมหลายเดือนคร้ัง (  = 1.28) เงินฝากสหกรณ์ออมทรัพย์อยู่ในระดับการออมหลายเดือนคร้ัง (  = 1.12) ตามลําดับ สําหรับผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ประชาชนที่มีเพศต่างกัน มีพฤติกรรมการออมไม่แตกต่างกัน แต่ประชาชนที่มีอายุระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และหนี้สินเฉลี่ยต่อเดือนที่ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมการออมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.subject การเงินส่วนบุคคล
dc.subject การประหยัดและการออม
dc.title พฤติกรรมการออมของประชาชนในเขตพื้นที่เมืองพัทยาจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternative Sving behviour mong people living in Ptty city, Chon Buri province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purposes of this quantitative study were to examine saving behavior among people living in Pattaya City, Chon Buri Province and to compare their saving behavior as classified by personal factors, including gender, age, educational level, and status. The subjects participating in this study were 400 people living in the area of Pattaya City who were recruited by a convenient sampling technique. The instrument used to collect the data was a questionnaire. The statistical tests used to analyze the collected data included frequency, percentage, means, standard deviation, t-test, and F-test with a pre-set significant level at .05. The majority of the subjects were employees working for private companies who earned 20,001- 30,000 baht per month. Mostly, they spent monthly no more than 10,000 baht on buying goods necessary for life, giving to their parents or family members-cousins and siblings. Also, regarding the types of savings, it was found that they saved in forms of cash savings, stocks, savings bonds, gold, and jewels. In addition, it was shown that the subjects kept their savings by depositing their money in saving accounts with banks, keeping cash with themselves, or buying life insurance with a stretch payment. Furthermore, it was shown that the subjects kept aside their money in forms of money sharing and loans. The main purposes of their savings included buying assets, spending on emergency cases and in old age, respectively. Based on the results of the analysis of saving behavior, it was shown that the level of savings among the subjects was at a moderate level (  = 1.14). When considering each aspect, saving their money with banks was done by the subjects almost on a monthly basis (  = 2.10). Also, the subjects periodically saved in a form of permanent assets (  = 1.28), and they deposited their money at a regular intervals of months with credit unions (  = 1.12). Furthermore, based on the test of hypotheses, there was no statistically significant difference in the saving behavior among the subjects who had different gender. Finally, a statistically significant difference was found in the saving behavior among the subjects who had different age, educational level, status, occupation, average amount of monthly salary and debt at a significant level of .05.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน
dc.degree.name รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account