dc.contributor.advisor |
อาณัติ ดีพัฒนา |
|
dc.contributor.advisor |
สมชาย ดารารัตน์ |
|
dc.contributor.author |
ปาริชาติ แย้มศรี |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T02:34:38Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T02:34:38Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6211 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
ประเทศไทยเป็นหนึ่งในผู้ผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรและอาหารที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่ง ได้แก่ ข้าวแป้งมันสำปะหลังข้าวโพดแปรรูปสดแช่แข็งในการผลิตมีน้ำเสียที่มีปริมาณสารอินทรีย์สูงเกิดขึ้น ซึ่งน้ำเสียเหล่านั้นสามารถนำมาผลิตไบโอก๊าซเป็นพลังงานเพื่อนำกลับไปใช้ในโรงงาน ได้แต่การได้มาซึ่งพลังงานน้อยต้องพิจารณาถึงเรื่องของผลกระทบที่จะเกิดกับสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปด้วยหากได้พลังงานมาใช้แต่การผลิตพลังงานนั้น ทำให้เกิดผลหรือส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมาก พลังงานที่ได้ก็อาจจะไม่ถือว่าเป็นทางเลือกที่ดีนัก จึงจำเป็นต้องมีการศึกษาถึงผลกระทบต่อโลก และสิ่งแวดล้อมที่อาจจะเกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ เพื่อช่วยในการปรับปรุง และหาแนวทางในการลดผลกระทบที่เกิดขึ้นเพื่อให้เราได้ทั้งพลังงานและสิ่งแวดล้อมที่ดีควบคู่กันไป การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินการประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment - LCA) ของการผลิตกระแสไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ กำหนดหน่วยการทำงานคือไฟฟ้า 1 กิโลวัตต์ต่อชั่วโมงจากการศึกษาพบว่า การผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในด้านการเกิดภาวะโลกร้อนมากที่สุดรองลงมาคือการเกิดฝนกรด การเพิ่มขึ้นของแร่ธาตุในน้ำ ผลกระทบต่อระบบนิเวศของน้ำ ผลกระทบต่อสุขภาพมนุษย์โดยขั้น ตอนที่ก่อให้เกิดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมมากที่สุด คือขั้นตอนการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพและเมื่อประเมินความคุ้มทุนใน การลงทุนพบว่า ระยะเวลาคืนทุนโครงการอยู่ที่ 4.5 ปี ค่ามูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) 11,661,614.53 บาท อัตราผลตอบแทนโครงการ IRR 21% เมื่อเทียบกับอัตราผลตอบแทนขั้นต่ำที่กำหนดไว้ 15% แต่ IRR มีค่ามากกว่า จึงถือว่าเป็นโครงการที่สามารถทำการได้ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม |
|
dc.subject |
ไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ -- การผลิต -- แง่สิ่งแวดล้อม |
|
dc.subject |
ต้นทุนและประสิทธิผล |
|
dc.subject |
การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์ |
|
dc.subject |
การผลิตพลังงานไฟฟ้า |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมเคมีและสิ่งแวดล้อม |
|
dc.title |
การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมของการผลิตไฟฟ้าจากไบโอก๊าซโดยเทคนิค LCA |
|
dc.title.alternative |
Environmentl impcts of electricity produced from biogs by using life cycle ssessment |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
Thailand is one of the largest producers and exporters of agricultural and food products in the world, including tapioca, fresh and frozen corn. In this process produce high organic wastewater its can be used to produce biogas. From various environmental impact analyst conducted in recent years have shown that in comparison to use of fossil fuels, using biogas production or bio methane for power generation lead to reduced greenhouse gas emission. Most of them have assessed the sustainability of biogas production for base load electricity generation. The aim of this study was to evaluate Life Cycle Assessment (LCA) based on primary and secondary data associated with the generation of electricity from biogas produced by anaerobic digestion of agricultural products. The functional unit of the study is 1 kW electricity per hour. Results show that global warming potential (GWP) is identified as the most significant environmental impact category followed by acidification potential (AP), Eutrophication potential (EP), photochemical oxidation potential (POCP), and human toxicity potential (HTP).The economic value assessment of the biogas power plant the results show that Payback Period (PB) is 4.5 years, Net Present Value (NPV) 11,661,614.53 Bath, Internal Rate of Return (IRR) 21% |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วิศวกรรมเคมีและสิ่งแวดล้อม |
|
dc.degree.name |
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|