DSpace Repository

การแนะนำลำดับขาอุปกรณ์ด้วยรูปแบบเซตสำหรับการเดินเส้นสัญญาณบนบอร์ดแผ่นปริ้น

Show simple item record

dc.contributor.advisor ภาณุวัฒน์ ด่านกลาง
dc.contributor.author วีระเดช ขุมทอง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:34:38Z
dc.date.available 2023-05-12T02:34:38Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6209
dc.description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract ในปัจจุบันการเขียนวงจรบนบอร์ดได้รับความสนใจจากนักวิจัยหลาย ๆ ท่าน ดังเช่น เรื่องการออกแบบเพื่อหลบหลีก และการความคุมระยะของเส้นสัญญาณรวมไปถึงการออกแบบเส้นสัญญาณที่สั้นที่สุด อยางไรก็ตามการเขียนวงจรนั้นยังคงถูกเขียนขึ้นด้วยตนเอง สาเหตุมาจากการที่มีพินขาเป็นจํานวนขาออกมาขอบด้านนอกมากบนอุปกรณ์ หรือบนส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อที่จะแกไขปัญหาดังกล่าว ผู้เขียนจึงได้ทําการค้นคว้าวิจัยวิทยานิพนธ์เล่มนี้ขึ้นเพื่อเสนอเทคนิคใหม่ ๆ เพื่อที่จะชี้นํากระบวนการเขียนวงจร โดยมีชื่อเรียกวาเทคนิค ่ Pin Set Sequence (PSS) ในงานวิจัยฉบับนี้ได้มีการนําเสนอกลวิธีการใหม่ให้มีการคัดกรองคู่พินขา โดยพินขาของอุปกรณ์แต่ละตัวนําเข้าในรูปแบบเซต จากนั้นทําการสร้างคู่อันดับด้วยผลคูณคาร์ทีเซียน เซตคู่อันดับจะสามารถทําการเดินเส้นสัญญาณได้ทันที สามารถระบุตําแหน่งของลําดับคู่พินขาในอันดับแต่ละชั้น บนบอร์ดได้ โดยการทดลองใช้ผลจากระยะเวลามีหน่วยเป็นมิลลิวินาที และระดับชั้นที่เกิดขึ้นจากการประมวลผล รวมเป็นคะแนนเพื่อประเมินระดับความซับซ้อนของวงจร มีการจําลองจํานวนคู่พินของอุปกรณ์หลายระดับ จากการทดสอบพบว่า เทคนิคใหม่ที่นํามาเสนอนี้ เมื่อนํามาประยุกต์ใช้ ทําให้การประมวลผลใช้เวลาน้อยลงกว่าร้อยละ 50 ของเวลาทั้งหมด และไม่ส่งผลต่อกระบวนการออกแบบ ทั้งยังสะดวกต่อการนําไปประยุกต์ใช้จริงกบกระบวนการออกแบบอัตโนมัติ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subject การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์
dc.subject วงจรพิมพ์
dc.subject วงจรอิเล็กทรอนิกส์
dc.subject อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
dc.title การแนะนำลำดับขาอุปกรณ์ด้วยรูปแบบเซตสำหรับการเดินเส้นสัญญาณบนบอร์ดแผ่นปริ้น
dc.title.alternative Pin set sequence selection guideline for printed circuit bord routing
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative Currently, Auto-routing algorithms on Printed Circuit Boards (PCB) have been the focus of many researchers such as escape routing, length matching and shortest part. However the PCB routing is still being designed manually because there are too many boundary pins on electronic devices or components. To compensate for this problem, the author researching this dissertation proposes a new technique to generate guidelines for boundary pins routing processes called Pin Set Sequence (PSS). This proposed technique uses a new algorithm for selections and guidelines to generate routing by pin assignment to form and make the set of sequences using Cartesian Product. Therefore this set of sequences can generate routing guidelines and show a sequence of pin couples in another layer on the circuit board. To summarise total score of circuit complexity, the author has simulated the complex circuit and evaluated total layer of circuit board and operating time of calculation process in millisecond unit. The experimental results demonstrate that PSS is possible for sequential pairing process, especially the operating time of PCB routing which is decreased more than 50%. Moreover, it does not affect to the design and it can be applied to actual auto-routing processes.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline วิศวกรรมไฟฟ้า
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account