DSpace Repository

การออกแบบระบบการนำน้ำหล่อเย็นกลับมาใช้ในกระบวนการเตรียมน้ำร้อน

Show simple item record

dc.contributor.advisor บรรหาญ ลิลา
dc.contributor.author จตุพล เลื่อนฤทธิ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:34:37Z
dc.date.available 2023-05-12T02:34:37Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6206
dc.description งานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract งานวิจัยนี้นําเสนอการออกแบบระบบการนําน้ำหล่อเย็นที่มีอุณหภูมิเหมาะสมจากกระบวนการหล่อเย็นกลับมาใช้ใหม่โดยนํากลับมาผสมกับน้ำร้อนในถังเก็บเพื่อลดการสูญเปล่าน้ำหล่อเย็นที่มีอุณหภูมิสูงและลดต้นทุนน้ำดิบและไอน้ำในการเตรียมน้ำร้อนใหม่ ด้วยการออกแบบ และติดตั้งท่อวาล์วและอุปกรณ์ตรวจวัดอุณหภูมิเพื่อควบคุมการเปิด-ปิดวาล์ว พร้อมทั้งแก้ไข โปรแกรมการควบคุมเพื่อนําน้ำหล่อเย็นที่มีอุณหภูมิตามที่กำหนดกลับไปยังถังเก็บน้ำร้อนและส่งน้ำหล่อเย็นที่ไม่ต้องการไปยังบ่อบําบัดจากการติดตามผลการดําเนินงาน พบว่า สามารถลดปริมาณการใช้ไอน้ำในการเตรียมน้ำร้อนเฉลี่ยจาก 44,317.22 เหลือ 26,682.73 เมกะจูลต่อเดือน มีการเติมน้ำดิบเฉลี่ย 20 ลูกบาศก์เมตรต่อเดือน คิดเป็นค่าใช้จ่ายเฉลี่ยที่ลดลงได้ทั้งหมดจาก 32,987.56 เหลือ 20,461.32 บาทต่อเดือน หรือลดลงได้ร้อยละ 37.97 เมื่อเปรียบเทียบกับงบประมาณที่ลงทุน พบว่า มีระยะเวลาการคืนทุนประมาณ 7 ปี 2 เดือน จึงสามารถสรุปได้ว่า การดําเนินการนี้มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในระดับที่ยอมรับได้
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
dc.subject ความร้อน -- การนำ
dc.title การออกแบบระบบการนำน้ำหล่อเย็นกลับมาใช้ในกระบวนการเตรียมน้ำร้อน
dc.title.alternative A design of the coolnt wter reuse system for hot wter preprtion process
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This study presents a design of a reuse system to direct the coolant water with suitable temperature from the cooling process to mix with the hot water in the storage tank. The design aimed to reduce the waste of coolant water with high temperature and to reduce the cost of fresh water and steam in preparation of refilled hot water. The procedures involved the design and installation of pipe, control valves, thermocouple to control the ON-OFF operations of valves, and the revision of the system program to direct the suitable temperature coolant water to the storage tank and the remaining to the sewage treatment reservoir. The implementation led to reduction of the steam consumption for hot water preparation from 44,317.22 to 26,682.73 Mega Jules per month with the average amount of 20 m3 per month of fresh water to refill the hot water storage. This reduction contributed to the decrement of the total cost in the hot water preparation process from 32,987.56 to 20,461.32 baht per month or 37.97 %. This investment has an acceptable economies of scale with 7 years 2 months of a payback period.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline วิศวกรรมอุตสาหการ
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account