DSpace Repository

การพัฒนาอิฐดินประสานโดยใช้เศษแก้ว

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิเชียร ชาลี
dc.contributor.author ปกรณ์ นิคม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-05-12T02:34:30Z
dc.date.available 2023-05-12T02:34:30Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6181
dc.description งานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้ คือ การเพิ่มมูลค่าของอิฐดินประสาน โดยการพัฒนาผิวของอิฐให้มีความสวยงามขึ้น ด้วยการใช้เศษแก้วเป็นส่วนผสมแทนที่ทรายละเอียดในการผลิตอิฐ ซึ่งเศษแก้วจะทำให้ผิวอิฐมีลวดลายและมีความแวววาวเกิดขึ้น และอิฐดิน ประสานที่ได้จะต้องมีสมบัติผ่านมาตราฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนบล็อกประสาร มผช 620/ 2547 ซึ่งจะต้องมีค่ากำลังอัดสำหรับชนิดรับน้ำหนักต้องไม่น้อยกว่า 70 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทำตัวอย่างอิฐดินประสานขนาด 5 x 5 x 5 เซนติเมตรและแบ่งเป็นส่วนผสมที่แตกต่างกัน 3 กลุ่ม ซึ่งมีอัตราส่วนของเศษแก้ว:ดินลูกรัง:ปูนซีเมนต์ เท่ากับ 45 :45 :10, 55 : 35 :10, และ 65 :25 : 10 โดยน้ำหนักในแต่ละกลุ่มส่วนผสมจะมี 12 ตัวอย่าง โดย การเปลี่ยนขนาดของเศษแก้ว 4 ขนาดจาการร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 4, 8, 10,และ 16 และใช้เวลาในการบ่มอิฐที่แตกต่างกัน 3 ช่วงเวลา คือ 7, 14, และ 28 วัน นอกจากนี้ยังได้ใช้อิฐดินประสานที่ไม่ผสมเศษแก้วเพื่อใช้เป็นตัวควบคุมเพื่อเปรียบเทียบ โดยแบ่งเป็นส่วนผสมที่แตกต่างกันสามกลุ่ม เช่นกัน ซึ่งมีอัตราส่วนผสมของทรายละเอียด : ดินลูกรัง : ปูนซีเมนต์ เท่ากับ 45 : 45 :10, 55 :35 :10 และ 65 :25 : 10โดยน้ำหนักในแต่ละกลุ่มส่วนผสมจะมี 3 ตัวอย่าง โดยใช้เวลาบ่มอิฐที่แตกต่างกัน 3 ช่วงเวลา คือ 7, 14, และ 28 วัน จากการศึกษาพบว่ากำลังอัดของอิฐดินประสานที่ผสมเศษแก้วมีค่าลดลงตามขนาดเศษแก้วที่ใหญ่ขึ้น และกำลังอัดของอิฐจะลดลงหากเพิ่มปริมาณการแทนที่ด้วยเศษแก้วที่เป็นเช่นนี้ เนื่องมาจากผิวของเศษแก้วเรียบและลื่น ทำให้ความแข็งแรงในการยึดเกาะของอนุภาคปูนซีเมนต์ ไม่ดีเท่ากับทรายละเอียด และส่วนผสมที่เหมาะสมในการผลิตอิฐดินประสานในการศึกษานี้ คือ อัตตราส่วนของเศษแก้ว : ดินลูกรัง : ปูนซีเมนต์ เท่ากับ 55 :35 :10 โดยน้ำหนัก โดยใช้เศษแก้วที่ค้างตะแกรงเบอร์ 8 เบ็นส่วนผสม ซึ่งจะได้ลักษณะผิวที่สวยงามจากเศษแก้วและมีกำลังอัดสูงกว่ามาตราฐานผลิตภัณท์ชุมชนบล็อกประสาน มผช 620/2547
dc.language.iso th
dc.publisher คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรม -- กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการจัดการงานก่อสร้าง
dc.subject อิฐประสาน
dc.subject วัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง
dc.title การพัฒนาอิฐดินประสานโดยใช้เศษแก้ว
dc.title.alternative Development of the lterite bricks by frgments of broken glss usge
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was to develop the surface of Laterite bricks for increase value of product by using the fragment of broken glass in the mixtures instead of sand, the broken glasses shall create the pattern and glitter on the brick surface, the appropriate mixtures shall comply to Thai Community Product Standard 602/2547, which shallhave the compressive strength at least 70 ksc. The samples were molded to dimension 5x5x5 cm in 3 groups of mixtures, the mixtures percent by weight ofbroken glasses: laterite soil: cement are 45:45:10, 55:35:10 and 65:25:10. Each group of mixtures consisted of 12 samples from 4 different sizes of broken glasses sifted through the sieve no.4, 8, 10 and 16 and from 3 different curing times 7, 14 and 28 days. The controlled samples (without broken glasses mixture) ware in 3 groups of mixtures also, the percent by weight of sand: laterite soil: cement are 45:45:10, 55:35:10 and 65:25:10, each group of mixtures consisted of 3 samples from 3 different curing times 7, 14 and 28 days. The results indicated that the strength of samples decrease when apply the broken glasses in the mixtures, the more quantity of broken glasses in the mixture the less strength and also the larger size of broken glasses in the mixture the less strength in the bricks. The surface of glasses smooth and slippery which affect to have less bonding in the sample. In this study, the appropriate percent by weight for mixture of broken glasses: laterite soil: cement was 55:35:10 with broken glasses shifted through the sieve no. 8, this mixture created the most beautiful surface and strength meet the requirement.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการจัดการงานก่อสร้าง
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account