dc.contributor.advisor |
พัทรพงษ์ อาสนจินดา |
|
dc.contributor.author |
อธิวัฒน์ มณีรัตน์โรจน์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T02:34:30Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T02:34:30Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6180 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการหาค่าความถี่ธรรมชาติของสะพานจากผลตอบสนองความเร่งของรถยนต์นั่งส่วนบุคคลด้วยวิธีการทดสอบแบบทางอ้อม เพื่อแสดงให้เห็นความเป็นไปได้ข้องวิธีการทดสอบ รวมทั้งนำเสนอกระบวนการวิเคราะห์และรูปแบบการทดสอบที่เหมาะสม โดยได้ทำการทดสอบภาคสนามกับสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กช่วงสั้น จำนวน 3 สะพาน และใช้ รถยนต์นั่งส่วนบุคคล 2 ประเภท ได้แก่ รถนั่งสองตอนท้ายบรรทุก (Pickup) และรถนั่งสามตอนเอนกประสงค์ (SUV) เป็ นยานพาหนะทดสอบ โดยหัววัดความเร่งได้ถูกติดตั้งที่บริเวณกึ่งกลางเพลาหลังของรถยนต์ทดสอบ และทำการเปรียบเทียบค่าความถี่ที่ได้กับความถี่จากหัววัดความเร่งที่ใต้ท้องสะพาน ซึ่งเป็นการวัดแบบทางตรง โดยพิจารณาผลของความเร็วที่แตกต่างกัน ความถี่ธรรมชาติของสะพานสามารถหาค่าได้จากกระบวนการวิเคราะห์สัญญาณ ความเร่งตรวจวัดที่นำเสนอ ซึ่งประกอบด้วย 3 ลำดับขั้นตอนได้แก่ 1) การแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว (FFT) 2) การแยกรูปแบบสัญญาณเชิงประจักษ์ (EMD) และ 3) การแยกรูปแบบสัญญาณเชิงประจักษ์ร่วมกับการตัดช่วงสัญญาณความเร่งจากผลการศึกษาพบว่า ความถี่ที่ได้จากกระบวนการวิเคราะห์ที่นำเสนอมีค่าตรงกันกับค่าที่ได้จากการตรวจวัดทางตรงที่สะพาน คิดเป็นร้อยละ 79.67 ของกรณีที่ระบุค่าความถี่ได้ซึ่งแสดงถึงความเป็นไปได้ในการใช้วิธีการทดสอบทางอ้อมแทนการวัดโดยตรงและจากผลของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่า การใช้รถยนต์นั่งส่วนบุคคลที่มีน้ำหนักรถมาก มีช่วงล่างที่มีความหน่วงสูงและเคลื่อนที่เพียงคันเดียวบนสะพานด้วยความเร็ว ประมาณ 36-55 กม./ชม. เป็นกรณีที่แนะนำในการนำไปประยุกต์ใช้ ส่วนการหาค่าความถี่ธรรมชาติ จริงของสะพานเป็นไปได้ยากและมีความซับซ้อนสูง ดังนั้นวิธีการทดสอบทางอ้อมจึงเหมาะสำหรับการนำมาใช้เพื่อคัดกรองสะพานที่อาจเกิดความเสียหายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของความถี่ |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา |
|
dc.subject |
สะพาน -- น้ำหนักจร |
|
dc.subject |
สะพาน -- การสั่นสะเทือน -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ |
|
dc.subject |
พลศาสตร์โครงสร้าง |
|
dc.title |
การหาความถี่ธรรมชาติของสะพานโดยใช้ผลตอบสนองความเร่งของรถยนต์นั่งส่วนบุคคล |
|
dc.title.alternative |
Bridge nturl frequency identifiction by using pssenger cr’s ccelertion response |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This research studied bridge natural frequency identification from a passenger car’s acceleration response by field testing. The research aimed to propose the analytical process and the appropriate testing scenario. In addition, effect of relevant parameters was studied. The field test was carried out with three short span reinforce concrete bridges and two types of passenger car i.e. full size pick-up truck (pickup) and sport utility vehicle (SUV) as the test vehicles. The acceleration transducers were mounted at the mid-point of vehicle rear axle as well as beneath the bridge at the mid-span in order to compare the analyzed frequency obtained from the direct and the indirect methods. Besides, effect of various moving speed was also considered. The bridge natural frequency can be identified by using indirect method from the process of signal analysis of the measured acceleration response. The proposed process consisted of 3 steps of calculation i.e. 1) the simple Fast Fourier Transformation (FFT) 2) the Empirical Mode Decomposition technique (EMD) and 3) the combination of the EMD and the cut of acceleration signal techniques. Regarding to the result of study, it was revealed that the proposed process was able to identify the bridge fundamental frequency of 79.67% for available cases. Moreover, it was observed that the analyzed frequencies were exactly the same to those obtained from the direct measurement to the bridge. Consequently, the indirect test with the proposed process of analysis can be successfully used instead of the conventional direct test. According to the parametric study, it was found that using a passenger car having heavier weight, higher suspension damping and only one vehicle moving on the bridge with speed at 36-55 km./hr. Which was recommended for application. However, estimating the actualbridge fundamental frequency was observed to be difficult with high complexity. Therefore, the proposed indirect method is appropriate for classification the potential damage bridges according to the change of frequency. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
วิศวกรรมโยธา |
|
dc.degree.name |
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|