dc.contributor.author |
สิทธิพันธ์ ศิริรัตนชัย |
|
dc.contributor.author |
แววตา ทองระอา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:52:57Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:52:57Z |
|
dc.date.issued |
2536 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/617 |
|
dc.description.abstract |
ในแต่ละปีจะมีปรากฎการณ์ขี้ปลาวาฬ (red tide) เกิดขึ้นในอ่าวไทยหลายแห่งและบ่อยครั้งมากขึ้น บางครั้งการเกิดค่อนข้างรุนแรงและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมากโดยเฉพาะครั้งที่เกิดขึ้นเมื่อกลางเดือนสิงหาคม 2534 ในบริเวณชายฝั่งของจังหวัดชลบุรี ตั้งแต่บริเวณชายหาดบางแสนไปจนถึงบริเวณอ่าวอุดม ซึ่งพบว่าเป็นการขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว ของไดโนแฟลคเจลเลต ชนิด นอคติลูกา ทำให้น้ำทะเลในบริเวณนี้มีสีเขียวเข้มตลอดแนวชายฝั่ง และในปี 2535 ช่วงระหว่างปลายเดือนมิถุนายน ถึงต้นเดือนกรกฎาคม ก็เกิดการขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว ของ นอคติลูกา อีกเช่นกัน ในบริเวณตั้งแต่อ่างศิลา ไปจนถึง อำเภอศรีราชา
จากการเกิดปรากฎการณ์ขี้ปลาวาฬ ในช่วงเวลาดังกล่าวนับว่ารุนแรง และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชนที่อยู่อาศัยในบริเวณชายฝั่งอย่างมาก โดยทำให้ปลา และสัตว์ทะเลหลายชนิดตายเป็นจำนวนมาก เกิดกลิ่นเหม็นที่รุนแรงตลอดแนวชายฝั่ง ทำให้น้ำทะเล และชายฝั่งสกปรก เกิดความเสียหายต่อการเพาะเลี้ยงกุ้งและการเลี้ยงปลาในกระชังคิดเป็นมูลค่าหลายสิบล้านบาท สร้างความตื่นตระหนกให้กับประชาชน และธุรกิจการท่องเที่ยวในบริเวณนี้เป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตามการเกิดปรากฎการณ์ขี้ปลาวาฬ ในบริเวณชายฝั่งจังหวัดชลบุรี มีแนวโน้มว่าจะเกิดในช่วงเวลาดังกล่าวทุกปี และนับจะทวีความรุนแรงขึ้นทุกวัน |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ชายฝั่ง - - ชลบุรี - - ผลกระทบจากมูลปลาวาฬ - - วิจัย |
th_TH |
dc.subject |
ปลาวาฬ - - มูล - - ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม - - วิจัย |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
ผลกระทบจากปรากฎการณ์ขี้ปลาวาฬบริเวณชายฝั่ง จังหวัดชลบุรี |
th_TH |
dc.title.alternative |
Impact from red tide at the coastal area of Chonburi |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2536 |
|
dc.description.abstractalternative |
Red tide phenomenon occurs in the Gulf of Thailand much often in various areas very year. Sometime it is serious and affects the environment tremendously. Especially those occured in the mid of August 1991 along the coastal area of chonburi from Bangsaen beach to Ao Udom. The bloom of dinoflagellates : Noctiluca affected sea water to be dark green along the coast line. In 1992 from the end of June to the beginning of July, the bloom of Noctiluca occured again from Ang Sila through Sriracha.
The bloom of Noctiluca at those time was serious and affected the enviroment and people living in coastal area. Diversity numbers of fishes, and many kind of marine animals or other living being under water died and spread bad smell lingered about along the coast line. This made sea water and the beach so dirty deteriorated shrimps aquaculture and cage fish raising cost more than some ten million bath. This phenomenon frightened people and endangered tourism in this area. However, the trend of red tide phenomenon will occur at the same period of time every year and will be more serious. |
en |