dc.contributor.advisor |
กฤช จรินโท |
|
dc.contributor.author |
ธีรพงศ์ เถาว์ชาลี |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-05-12T02:27:39Z |
|
dc.date.available |
2023-05-12T02:27:39Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6149 |
|
dc.description |
งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 |
|
dc.description.abstract |
การทำวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนสมาชิกและเกษตรกรในพื้นที่ใกล้เคียงให้หันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการลดต้นทุนในการผลิต และเพื่อสนับสนุนการสร้างอาชีพ งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) ใช้แบบสอบถามโครงการและใช้การสังเกต เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหนองสโนว์ หมู่ที่ 8 ตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งมีจำนวนสมาชิก 12 คน ผลการวิจัย พบว่า โครงการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อลดต้นทุนการผลิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีส่วนสำคัญต่อบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชนหนองสโนว์ หมู่ที่ 8 อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยเฉพาะการสนับสนุนส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความตื่นตัว สนใจที่จะเข้ามาร่วมกิจกรรมที่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ผู้ดำเนินโครงการจัดขึ้น แต่ที่พบทำได้น้อยเพราะ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีภาระหน้าที่หลายด้านด้วยกันประกอบกับเป็นฤดูแห่งการเพาะปลูกและการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร และประชาชนไม่ได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมอาชีพอย่างจริงจัง ในด้านของโครงการการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อลดต้นทุนการผลิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจและเกษตรกร ในพื้นที่ใกล้เคียงส่วนมากยังขาดความรู้ความเข้าใจ ขาดประสบการณ์จึงทำให้ไม่สามารถนำหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ได้อย่างเต็มที่และทั้งนี้ไม่มีเจ้าหน้าที่ดูแลรับผิดชอบโครงการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อลดต้นทุนการผลิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยตรง ในส่วนการพัฒนาอาชีพมีข้อจำกัดด้วยเวลามีระยะเวลาน้อยในการดำเนินกิจกรรมจึงไม่สามารถปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่อง ทำให้ประชาชนส่วน ใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในรูปแบบและประกอบกับปัญหาดำเนินโครงการในปัญหาด้านการตลาด และยังขาดความสนใจจากเกษตรกรในพื้นที่อาจเป็นเพราะมีความคิดและความเชื่อว่าการทำการเกษตร โดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ยากลำบากกว่าการใช้ปุ๋ยเคมีเพราะปุ๋ยเคมีส่งผลต่อผลการเกษตรในระยะสั้น และจากสภาพสังคมที่ประชาชนมีความรู้มากขึ้น ทำให้เกิดความรู้สึกด้านลบ และเกิดการประเมินค่าการ ทำการเกษตรที่ต่ำ จึงไม่มีความสนใจที่จะเข้ามามีส่วนร่วมกับกิจกรรมโครงการการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อลดต้นทุนการผลิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
วิสาหกิจชุมชน -- ไทย -- กาฬสินธุ์ |
|
dc.subject |
อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ |
|
dc.subject |
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) |
|
dc.subject |
เกษตรกรรม -- การควบคุมต้นทุนการผลิต |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร |
|
dc.subject |
ปุ๋ยอินทรีย์ -- การผลิต -- มาตรฐาน |
|
dc.title |
การใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อลดต้นทุนในการผลิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและพัฒนาธุรกิจวิสาหกิจชุมชน ตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ |
|
dc.title.alternative |
The use of orgnic fertilizer to reduce production cost regrding to philosophy of sufficiency economy nd to develop community enterprise in Kudsimkummi sub-district, Kho Wong district, Klsin province |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This study attempts to support members and agriculturists in nearby circumstances to use organic fertilizers to reduce production cost and to promote careers. This Participatory Action Research (PAR) study utilized questionnaire and observation as research tools to collect data. The population in this study were 12 members of Nong Snow Community Enterprise, Moo 8, Kudsimkummai Sub-district, Khao Wong District, Kalasin Province. The findings reveal that the project of using organic fertilizers to reduce production cost according to philosophy of sufficiency economy played an important role to develop Nong Snow Community Enterprise, Moo 8, Kudsimkummai Sub-district, Khao Wong District, Kalasin Province, especially to urge people to pay attention in participating activities of the community enterprise. However, it was found that they could not participate much since the participants obliged several duties as well as the activities held during planting and harvesting seasons. Therefore, people did not seriously focus on career promotion of using organic fertilizers to reduce production cost according to philosophy of sufficiency economy. Most members of the community enterprise and agriculturists in the nearby area still lacked of understanding and experience, hence they could not fully apply philosophy of sufficiency economy. Also, there were no officials responsible for the project. Since there was limited time to operate the activities for career promotion, the activities could not run continuously. Most people still lacked of understanding in patterns and aspects to manage with marketing problems. They were not interested in the project because they thought and believed that the use of organic fertilizers were more difficult than the use of chemical fertilizers. Chemical fertilizer could be effective in short time. When people learn more about this, they felt negative and they underestimated agriculture. In short, they were not interested in participated in the project of using organic fertilizers to reduce production cost according to philosophy of sufficiency economy |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร |
|
dc.degree.name |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|