dc.contributor.author |
เอกวิทย์ มณีธร |
|
dc.contributor.author |
สโรชา แพร่ภาษา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:52:57Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:52:57Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/612 |
|
dc.description.abstract |
รายงานการวิจัยการประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อกหารให้บริการองค์การบริหารส่วนตำบลบางบุตร อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง ฉบับบนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อศึกษาระดับควงามพึงพอใจของประชาชนที่มีรตจ่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลบางบุตร ศึกษษปัญหา อุปสรรคที่มีต่อการให้บริการแก่ประชาชนและแนวทางการพัฒนาให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลบางบุตร โดยมีวิธีการ ศึกษาระเบียบวิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ(Quantitative Research) และเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซึ่งวิธีการศึกษาวิจัย คือ การศึกษาวิจัยจากเอกสาร (Documentary Research) และการศึกษาวิจัยภาคสนาม (Field Research) โดยการสัมภาษณ์เจาะลึกประกอบกัน
โดยผลการศึกษามีดังนี้
จากการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจของประชาชนอยู่ในระดับมาก คือ
มีค่าเฉลี่ย 3.82 คิดเป็นนร้อยละ 76.4
1. มีจำนวนเพศชาย 130 คน คิดเป็นร้อยละ 52.0 และผู้หญิงจำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 48.0
2. มีอายุ 31-40 ปี มีจำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 28.0 และจำนวนน้อยที่สุดเป็นผู้ที่มีอายุ 71-80 ปี มีจำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 2.0
3. สถานภาพมากที่สุดคือ สถานภาพสมรส มีจำนวน 1878 คน คิดเป็นร้อยละ 75.2 และจำนวนน้อยที่สุด สถานภาพแยกกันอยู่ มีจำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 2.0
4. ระดับการศึกษาจำนวนมากที่สุด คือ ระดับประถมศึกษา มีจำนวน 133 คน คิดเป็นร้อยละ 53.2 จำนวนน้อยที่สุด ระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี มีจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.2
5. อาชีพจำนวนมากที่สุดคือ อาชีพรับจ้าง มีจำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 28.8 จำนวนน้อยที่สุด อาชีพอื่น ๆ มีจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.6
6. รายได้จำนวนมากที่สุด คือ 3,001 – 5,000 บาท มีจำนวน 90 คน
คิดเป็นร้อยละ 36.0 จำนวนที่น้อยที่สุดคือ 25,001 บาทขึ้นไป มีจำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 2.87. การไปใช้บริการในองค์การบริหารส่วนตำบลบางบุตรจำนวนมากที่สุด คือ การจัดเก็บภาษีบำรุงท้องที่ มีจำนวน 117 คน คิดเป็นร้อยละ 46.8 จำนวนน้อยที่สุด คือ การขออนุญาตจัดตั้งตลาดมีจำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0
7.จำนวนผู้มาใช้บริการ อบต. จำนวนมากที่สุด คือ ประมาณ 1-2 ครั้ง / ปี มีจำนวน 182คน คิดเป็นร้อยละ 72.8 จำนวนที่น้อยที่สุดคือ ประมาณ 1-2 ครั้ง/เดือน มีจำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 27.2
8. ช่วงเวลาที่มาใช้บริการจำนวนมากที่สุดคือ เวลา 8.30 – 10.00 มีจำนวน 107 คน คิด เป็นร้อยละ 42.8 จำนวนที่น้อยที่สุด 14.01 – เวลาปิดทำการ มีจำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 7.2
ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการขององค์ฏารบริหารส่วนตำบลบางบุตรอันดับมากที่สุดคือ ความเป็นธรรมของขั้นตอน วิธีการให้บริการ (เรียงลำดับก่อนหลัง และมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน) มีค่าเฉลี่ย 3.88 คิดเป็นร้อยละ 77.6 อยู่ในระดับมาก ส่วนอันดับสุดท้ายคือ ความสะดวกที่ได้รับจากการบริการแต่ละขั้นตอน มีค่าเฉลี่ย 3.76 คิดเป็นร้อยละ 75.2 อยู่ในระดับมาก
ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการขององค์การบริหารส่วนตำบลบางบุตร อันดับมากที่สุดคือ เจ้าหน้าที่ให้บริการต่อผู้รับบริการเหมือนกันทุกราย โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ย 4.04 คิดเป็นร้อยละ 80.8 อยู่ในระดับมาก ส่วนอันดับสุดท้ายคือ ความเอาใจใส่ กระตือรือร้น และความพร้อมในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ มีค่าเฉลี่ย 3.75 คิดเป็นร้อยละ 75.0อยู่ในระดับมาก
ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการขององค์การบริหารส่วนตำบลบางบุตรอันดับมากที่สุด คือ สถานที่ตั้งสะดวกในการเดินทางมารับบริการมีค่าเฉลี่ย 4.10 คิดเป็นร้อยละ 82.0 ปยู่ในระดับมาก ส่วนอันดับสุดท้าบ คือ ป้ายหรือข้อความบอกจุดบริการ / ป้ายประชาสัมพันธ์มีความชัดเจน เข้าใจง่าย มีค่าเฉลี่ย 3.78 คิดเป็นร้อยละ 75.6 อยู่ในระดับมาก
ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการขององค์การบริหารส่วนตำบลบางบุตรอันดับมากที่สุด คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่นการดูแลเรื่องน้ำ และไฟฟ้าสว่างตามทางเดิน การก่อสร้างถนน ทางเท้า ท่อระบายน้ำท้ง การจัดให้มีถนนใช้ภายในหมู่บ้าน ฯลฯ มีค่าเฉลี่ย 3.80 คิดเป็นร้อยละ 76.0 อยู่ในระดับมาก ส่วนอับดับสุดท้ายคือ ด้านศิลปวัฒนธรรมฯ เช่น การจัดดูแลโบราณสถาน โบราณวัตถุ การจัดการดูแลพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ การจัดกิจกรรมด้านวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ย 3.65 คิดเป็นร้อยละ 73.0 อยู่ในระดับมาก
ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการขององค์การบริหารส่วนตำบลบางบุตรอันดับมากที่สุดคือ ด้านการแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชน มีค่าเฉลี่ย 3.78 คิดเป็นร้อยละ 75.6 อยู่ในระดับมาก ส่วนอันดับสุดท้ายคือ การรายงานผลการดำเนินงาน โครงการ/ กิจกรรมต่าง ๆ ของ อบต. บางบุตร มีค่าเฉลี่ย 3.58 คิดเป็นร้อยละ 71.6 อยู่ในระดับมาก
การประเมินความรู้ความเข้าใจของประชาชนที่มีต่อการเลือกตั้งท้องถิ่น ในบทบาทหน้าที่ของประชาชนจำนวนมากที่สุด คือไปเลือกตั้งนายก อบต. และสมาชิก อบต. มีจำนวน 169 คน คิดเป็นร้อยละ 67.6 จำนวนน้อยที่สุด ใช้สิทธิเพื่อให้ อบต. เปิดเผยข้อมูล มีจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.4
การประเมินความรู้ความเข้าใจของประชาชนที่มีต่อการเลือกตั้งท้องถิ่น ในการเลือกนายกอบต. (คนปัจจุบัน) จำนวนมากที่สุดคือ เลือกนายกอบต. โดยตรง ประชาชนมีจำนวน 122 คน คิดเป็นร้อยละ 48.8 จำนวนน้อยที่สุด แต่งตั้งจากสมาชิกอบต. ที่ได้รับคะแนนสูงสุด มีจำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 20.8
การประเมนความรู้ความเข้าใจของประชาชนที่มีต่อการเลือกตั้งท้องถิ่น ในการเลือกตั้งที่ผ่านมาจำนวนมากที่สุด คือไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง มีจำนวน 195 คน คิดเป็นร้อยละ 78.0 จำนวนน้อยที่สุด ไม่ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง มีจำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 22.0 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ความพอใจ - - วิจัย |
th_TH |
dc.subject |
ความพอใจของผู้ใช้บริการ - - วิจัย |
th_TH |
dc.subject |
บริการสาธารณะ - - วิจัย |
th_TH |
dc.subject |
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ |
th_TH |
dc.title |
ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลบางบุตร อำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2550 |
|