dc.contributor.author |
เพชรรัตน์ ตรงต่อศักดิ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:52:00Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:52:00Z |
|
dc.date.issued |
2551 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/596 |
|
dc.description.abstract |
มีรายงานยืนยันฤทธิ์ลดความดันโลหิตของสารสกัดใบบัวหลวง (Nelumbo nucifera Gaertn.) สารสกัดใบบัวหลวงอาจจะออกฤทธิ์ที่หลอดเลือดโดยการทำให้หลอดเลือดขยายตัว แต่ยังไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ยืนยันฤทธิ์ของสารสกัดใบบัวหลวงต่อการทำงานของหลอดเลือด การศึกษานี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ขยายหลอดเลือดและกลไกการออกฤทธิ์เบื้อต้นของสารสกัดใบบัวหลวงในหลอดเลือดเอออร์ต้าที่แยกจากหนูขาวปกติ และศึกษาผลของสารสกัดใบบัวหลวงต่อการตอบสนองของหลอดเลือด (vascular reactivity) ในหลอดเลือดเอออร์ต้าที่แยกจากหนูขาวความดันโลหิตปกติและหนูขาวที่มีภาวะความดันโลหิตสูงโดยการตีบ renal artery ผลการศึกษาพบว่าสารสกัดใบบัวหลวง (10-100 µg) สามารถทำให้หลอดเลือดคลายตัวได้ 6-63%, nadolol (β-adrenergic receptor antagonist) 10 µM ไม่สามารถยับยั้งฤทธิ์ขยายหลอดเลือดของสารสกัดใบบัวหลวงได้ แต่สามารถยับยั้งด้วย L-NAME (nitric oxide synthase inhibitor) 10 µM และ methylene blue (gaunylyl cyclase inhibitor) 1 µM โดยหลอดเลือดจะคลายตัวได้เพียง 40% และ 37% ตามลำดับ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าฤทธิ์ขยายหลอดเลือดของสารสกัดใบบัวหลวงเกิดผ่าน nitric oxide-cGMP pathway สารสกัดใบบัวหลวงยังสามารถดึงแรงตึงของหลอดเลือดที่ถูกเหนี่ยวนำด้วย phenylephrine (PE, α-adrenergic receptor agonist) 1 µM ใน Ca2+-free Krebs solution แสดงว่าสารสกัดใบบัวหลวงน่าจะมีผลยับยั้งการหลั่ง Ca2+ จากภายในเซลล์ นอกจากนี้ยังพบว่าสารสกัดใบบัวหลวงสามารถลดการหดตัวของหลอดเลือดที่เกิดจาก PE 10-10-10-6 M ทั้งในหลอดเลือดกลุ่มความดันโลหิตปกติกละกลุ่มความดันโลหิตสูง แต่เพิ่มการคลายตัวของหลอดเลือดที่เหนี่ยวนำโดย isoproterenol β-adrenergic receptor antagonist) 10-9-10-5 M ในหลอดเลือดกลุ่มความดันโลหิตสูง สารสกัดใบบัวหลวงมีฤทธิ์ขยายหลอดเลือกโดยออกฤทธิ์ผ่าน nitric oxide-cGMP pathway บางส่วนและอาจมีผลยับยั้งการหลั่ง Ca2+ ภายในเซลล์ นอกจากนี้สารสกัดใบบัวหลวงยังสามารถปรับเปลี่ยนการตอบสนองของหลอดเลือดที่ได้จากหนูขาวความดันโลหิตปกติและความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงการตอบสนองของ adrenergic receptor ในหลอดเลือดทำให้แรงตึงของหลอดเลือดซึ่งน่าจะช่วยลดความดันโลหิตได้ |
th_TH |
dc.description.abstract |
It has been reported that the crude leaf extract of Nelumbo nucifera Gaertn.(NN) possessed a hypotensive effect. NN may cause vascular resulting in decrease in the blood pressure. However, scientific evidence regarding its hypotensive mechanism has not yet been documented. The aim of the present study were to evaluate the vasorelaxant effects of NN and its possible mechanisms in isolated rat aortic rings, as well as to examine its effects on vascular reactivity in isolated aortic rings derived from normotensive and hypertensive rats induced by constriction of renal artery. NN (10-100 µg/ml) induced relaxation in aortic ring by 6-63%. The vasorelaxant effects of NN was not inhibited by nadolol (β-adrenergic receptor antagonist) 10 µM, but was significantly attenuated by L-NAME (nitric oxide synthase inhibitor) 10 µM and methylene blue (gaunylyl cyclase inhibitor) 1 µM. In the presence of L-NAME and methylene blue, NN caused only 40% and 37% relaxation respectively, suggesting its vasorelaxant effect mediated through nitric oxide-cGMP pathway. NN also reduced vascular contraction induced by phenylephrine (PE, α-adrenergic receptor agonist) 1 µM in Ca2+-free Krebs solution. Suggesting its inhibitory effect on intracellular Ca2+ release. Moreover, NN attenuated contractile effect of PE 10-10-10-6 M in both normotensive and hypertensive aortic rings, but enhanced relaxation to isoproterenol (β-adrenergic receptor antagonist) 10-9-10-5 M in hypertensive aortic rings. In addition, NN diminished vasorelaxant effect of acetylcholine (muscarinic receptor agonist) 10-9-10-5 M in both groups of aortic rings. Inconclusion, NN can elocit vasorelaxant effect which is partly mediated via nitric oxide-cGMP pathway and may inhibit intracellular Ca2+ release Additionally, NN can modulate vascular reactivity in both normotensive and hypertensive aortic ring, particularly alteration in the responses of vascular adrenergic receptors resulting in decrease in vascular tension, which may contribute to its hypertensive effect. |
th |
dc.description.sponsorship |
โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดินปี 2551 มหาวิทยาลัยบูรพา |
en |
dc.language.iso |
ภาษาไทย |
th_TH |
dc.publisher |
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ความดันเลือด |
th_TH |
dc.subject |
ความดันเลือดสูง |
th_TH |
dc.subject |
บัวหลวง - - ใบ |
th_TH |
dc.subject |
สารสกัดจากพืช |
th_TH |
dc.title |
การศึกษากลไกการลดความดันโลหิตของสารสกัดใบบัวหลวง |
th_TH |
dc.title.alternative |
Evaluation of hypotensive mechanisms of crude leaf extract of nelumbo nucifers gaertn |
en |
dc.type |
งานวิจัย |
|
dc.author.email |
petchara@buu.ac.th |
en |
dc.year |
2551 |
|