dc.contributor.author |
ตติรัตน์ สุวรรณสุจริต |
th |
dc.contributor.author |
วิไลพรรณ สวัสดิ์พาณิชย์ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:51:59Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:51:59Z |
|
dc.date.issued |
2548 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/584 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความต้องการและการรับรู้ด้านการสนับสนุนทางสังคมในการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของสตรีวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรีวัยรุ่นที่กำลังศึกษาภาคปกติ ในสถานศึกษาสังกัดภาครัฐบาล เขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี และเลือกการสุ่มตัวอย่างจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบสอบถามความต้องการและการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมในการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของสตรีวัยรุ่น ความเชื่อมันของแบบสอบถามความต้องการการสนับสนุนทางสังคมในการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของสตรีวัยรุ่น เท่ากับ .87 และการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมในการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของสตรีวัยรุ่นเท่ากับ .88 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า (t-test)
ผลการวิจัยมีดังนี้
1.สตรีวัยรุ่นต้องการการสนับสนุนทางสังคมในการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสารและด้านวัตถุ สิ่งของ การเงิน แรงงาน และบริการ ที่ต้องการในระดับปานกลาง
2.สตรีวียรุ่นรับรู้การสนับสนุนทางสังคมในการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้นด้านอารมณ์ และด้านการประเมินพฤติกรรมรับรู้ในระดับมาก
3.คะแนนเฉลี่ยของความต้องการและคะแนนเฉลี่ยของการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมในการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของสตรีวัยรุ่นโดยรวมและรายด้าน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยคะแนนเฉลี่ยความต้องการมากกว่าคะแนนเฉลี่ยของการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมในการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ยกเว้นด้านการประเมินพฤติกรรม พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05
ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนพัฒนาการดูแลสตรีวัยรุ่นเพื่อลดความเสี่ยงทางเพศที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณรายได้ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
วัยรุ่น - - พฤติกรรมทางเพศ - - วิจัย |
th_TH |
dc.subject |
วัยรุ่น - - ไทย - - พฤติกรรมทางเพศ |
th_TH |
dc.subject |
สตรี - - ไทย - - ภาวะสังคม |
th_TH |
dc.subject |
เพศสัมพันธ์ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
การเปรียบเทียบความต้องการและการรับรู้ด้านการสนับสนุนทางสังคมในการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของสตรีวัยรุ่น |
th_TH |
dc.title.alternative |
A Comparision of Needs and Perceived Social Spport Related Reduction of Sexual Risk Behaviors in Female Teenagers. |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2548 |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this descriptive research was to compare needs and perceived social support related reduction of sexual risk behaviors in female teenagers. The sample was composed of 400 female teenagers studying in public schools in Chonburi province. The subjects were selected using muti-stage sampling. Tha data were collected by using the demographic data from and the needs and perecived social support related reduction of sexual risk behaviors questionnaires. The reliability of needs and perceived social support related reduction of sexual risk behaviors questionnaires were .87 and .88 respectively. Statistics used for data analysis were percentage,mean,standard deviation,and t-test.
The results revealed that
1.The mean scores of needs in social support related reduction of sexual risk behaviors in total and subdscale were high level except information support and instrument support subscale.
2.The mean scores of perceived social support related reduction of sexual risk behaviors in total and subdscale were moderate level except emotional support and appraisal support subscale.
3.The mean scores of needs and perceived social support related reduction of sexual risk behaviors in total and subdscale were significant different at p<.05 except appraisal support subscale.
The findings could be used as foundation to develop a guideline for planning for improve care,to reduce sexual risk behaviors in female teenagers |
en |