dc.contributor.author |
สมชาย เดชะพรหมพันธุ์ |
|
dc.contributor.author |
ภัทราพร สร้อยทอง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:51:56Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:51:56Z |
|
dc.date.issued |
2545 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/556 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยเรื่อง การบริหารและจัดการ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอุทยานแห่งชาติในภาคตะวันออก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาเปรียบเทียบ จัดระดับการบริหารและจัดการ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอุทยานแห่งชาติในภาคตะวันออก
และทดสอบแบบจำลองการบริหารและจัดการ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อนำไปเป็นแนวทางในการกำหนดมาตรฐานการบริหารและจัดการเชิงนิเวศของอุทยานแห่งชาติและแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติอื่น ๆ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา
คือ อุทยานแห่งชาติ 7 แห่งในภาคตะวันออก คือ อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง เขาแหลมหญ้าและหมู่เกาะเสม็ด น้ำตกพลิ้ว เขาคิชฌกูฏ เขาชะเมา-เขาวง ทับลาน และปางสีดา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบจำลองการบริหารและจัดการ
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยปรับแต่งเป็นแบบสำรวจเพื่อใช้เก็บข้อมูลภาคสนามและแบบสอบถามที่นำไปเก็บข้อมูลจากหัวหน้าอุทยานแห่งชาติ บุคลากรที่ปฏบัติงานในอุทยานแห่งชาติ นักท่องเที่ยว ประชาชนชุมชนท้องถิ่น ผลการศึกษาพบว่า
1. อุทยานแห่งชาติทั้ง 7 แห่ง มีความสามารถในการบริหารและจัดการองกรค์ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศแตกต่างกัน ระดับความสามารถในการบริหารและจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอุทยานแห่งชาติแต่ละแห่งมีความใกล้เคียงกันมากตามลำดับดังนี้ อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวง ได้รับคะแนน 43 รองลงมาคือ อุทยานแห่งชาติน้ำตกพลิ้ว 42 คะแนน อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ อุทยานแห่งชาติทับลาน ได้แห่งละ 41 คะแนน อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้าและหมู่เกาะเสม็ดได้ 40 คะแนน และอุทยานแห่งชาติปางสีดา ได้ 38 คะแนน และเมื่อเฉลี่ยเปรียบเทียบระหว่างอุทยานแห่งชาติทางบกกับอุทยานแห่งชาติทางทะเลเพียงเล็กน้อยที่ระดับ 41 : 40.50 คะแนน แบบจำลองการบริหารและการจัดการ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศสามารถปฏิบัติได้กับกิจกรรมที่อุทยานแห่งชาติทั้ง 7 แห่ง โดยมีการดำเนินการในระดับสูงตั้งแต่ร้อยละ 79.18 ถึง 89.58
ทำให้เชื่อมั่นได้ว่าแบบจำลองการบริหารและจัดการ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศจะสามารถเป็นแนวทางในการกำหนดมาตรฐานการบริหารและจัดการ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอุทยานแห่งชาติและแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติอื่น ๆ ได้ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
Ecotourism management |
th_TH |
dc.subject |
การท่องเที่ยว - - ไทย (ภาคตะวันออก) |
th_TH |
dc.subject |
สาขาสังคมวิทยา |
th_TH |
dc.subject |
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว - - ไทย (ภาคตะวันออก) |
th_TH |
dc.subject |
อุทยานแห่งชาติ - - ไทย (ภาคตะวันออก) |
th_TH |
dc.title |
การบริหารและการจัดการ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอุทยานแห่งชาติในภาคตะวันออก |
th_TH |
dc.title.alternative |
Ecotourism management of the Eastern Region national parks |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2545 |
|
dc.description.abstractalternative |
The research purposes are three :
1. To compare Ecotourism Management ability of Eastern Region National Park
2. To rank the position of the Ecotourism Management ability of Eastern Region National Park
3. To test Ecotourism Management model
The research methodology is to set up the Ecotourism Management model, and then bring it to test
with seven national parks in the Eastern Region. The park to be studied are: Kho Chang, Kao leamYar-
Kho Smet, Plew Waterfall, Kao Kichakoot, Kao Chamao-Kao Wong, Taplan,and Prang Seeda.
The results are :
1. There are difference in Ecotourism Management ability among seven national park.
2. The ability ranking are show as follow as Kao Chamao-Kao Wong score 43, Plew Waterfall score
42, Kho Chang,Kao Kichakoot and Taplan are the same 41, Kao leamYar-Kho Smet score 40 and Prang Seeda
score 38.
3. The main land national parks have more Ecotourism Management ability than marine national park.
The score of the main land national parks is 41. The score of marine national parks is 40.5
The Ecotourism Management parctice of seven national parks meet 79.81 to 89.58 percent of the
Ecotourism Management Model, and this is a confidence that the model can be a guideline to set
Ecotourism Management Standard, for national parks and other natural tourism place. |
en |