dc.contributor.author |
อาภรณ์ ดีนาน |
th |
dc.contributor.author |
สงวน ธานี |
th |
dc.contributor.author |
วชิราภรณ์ สุมนวงศ์ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:51:54Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:51:54Z |
|
dc.date.issued |
2544 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/519 |
|
dc.description.abstract |
ภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานในช่วงวัยรุ่น นอกจากจะส่งผลกระทบต่อวัยรุ่นทั่งร่างกายและจิตใจแล้ว ยังมีผลกระทบอย่างต่อเนื่องในวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุโดยเป็นสาเหตุของโรคเรื้อรังต่างๆโดยเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือด อุบัติการณ์การเกิดภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานในวัยรุ่นนับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย และปัจจัยส่งเสริมต่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงของสังคม เทคโนโลยี ค่านิยม และบรรทัดฐานของสังคม เป็นต้น การส่งเสริมสุขภาพจะสามารถป้องกันภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานได้เนื่องจากจะช่วยปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิต ทำให้ร่างกายมีการใช้พลังงานอย่างสมดุล
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายและเปรียบเทียบพฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมการบริโภคอาหาร รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐานของวัยรุ่นที่อาศัยอยู่ในและนอกเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออกโดยใช้กรอบแนวคิดของเพนเดอร์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ซึ่งอาศัยอยู่ในจังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา จำนวน 1,086 คน เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2543 ถึง 31 สิงหาคม 2543 โดยใช้แบบสอบถาม ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และตรวจหาระดับไขมันในเลือด วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและดารทดสอบค่าที
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 4.5 มีภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐาน วัยรุ่นที่อาศัยอยู่ในและนอกเขตนิคมอุตสาหกรรมแตกต่างกันในเรื่อง จำนวนสมาชิกในครอบครัวที่น้ำหนักเกินมาตรฐาน (p < 0.5) รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครอบครัว (p < 0.5) การมองโลกในด้านดี (p < .001) การรับประทานอาหารและกิจกรรมประจำวัน (p < .001) บรรทัดฐานของสังคมในการออกกำลังกาย (p < .05) และตัวแบบในการออกกำลังกาย (p < .05) โดยพบว่า วัยรุ่นที่อาศัยอยู่นอกเขตอุตสาหกรรมครอบครัวมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนสูงกว่า มีการมองโลกในด้านดีสูงกว่า มีคะแนนการรับประทานอาหารและกิจกรรมประจำวันสูงกว่าและมรคะแนนตัวแบบในการออกกำลังกายสูงกว่า ในขณะที่ วัยรุ่นที่อาศัยอยู่ในเขตนอคมอุตสาหกรรมมีจำนวนสมาชิกในครอบครัวที่น้ำหนักเกินมาตรฐานจำนวนมากกว่าและมีคะแนนบรรทัดฐานของสังคมในการออกกำลังกายสูงกว่าข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย ได้แก่ การสร้างรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพสำหรับวัยรุ่นบนพื้นฐานของการมองโลกในด้านดี ตัวแบบและบรรทัดฐานของสังคมในการออกกำลังกายและสร้างเครื่องมือวัดพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมไทย |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
รายงานวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ปี 2543 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การออกกำลังกาย |
th_TH |
dc.subject |
นิคมอุตสาหกรรม - - ไทย (ภาคตะวันออก) |
th_TH |
dc.subject |
บริโภคกรรม |
th_TH |
dc.subject |
รุ่น - - ไทย (ภาคตะวันออก) |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
เปรียบเทียบพฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ระดับไขมันในเลือดและดัชนีมวลกายของวัยรุ่นไทย: ในและนอกเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออก |
th_TH |
dc.title.alternative |
A comparative study of exercise behavior, eating behaviors, serum lipids, and body mass index of Thai adolescents : urban and rural areas of the Eastern Seaboard of Thailand. |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2544 |
|
dc.description.abstractalternative |
Obesity among adolescents is a major health problem. The Third National Health and Nutrition Examination Survey 1988 – 1994 showed that 12 % of adolescents in the United Statc were overweight and reported a decline in physical activity for adolescents and young adults. The estimation of obese US adolescents in 1999 was 11 – 24 %. Social change is claimed to be the major factor that contributes to obesity. Many studies revealed that the obesity rate is not only increasing in industrialized countries, but also in developing countries. With the transition from agriculture to industrialization, the Thai Ministry of Health reported that 16 % of Thai students were overweight/obese especially students in urban areas. The purposes of this study were to describe and compare eating and exercise behaviors and the factors that influence these behaviors in Thai adolescents who live in urban and rural areas the eastern seaboard of Thailand (industrial-site development). Pender’s Health Promotion constructs were measured including individual characteristics and experiences, behavior-specific cognitions and affects, and behavioral outcome. One thousand and eighty six high-school students in urban and rural areas of the Eastern Seaboard completed the Health-Promoting Lifestyle Profile ll, adolescent exercise behavior questionnaires, and demographic showed that 4.5 % of adolescents on the Eastern Seaboard of Thailand were obese/overweight. Urban and rural adolescents were significantly different on a number a factors including family members who were overweight/obese (p < .05), family monthly income (p < .05), optimism (p < .001), daily concerns (p < .001), exercise norm (p < .05), and exercise role model (p < .05). Rural adolescents were higher on optimism, daily concerns, family income and exercise role model, whereas urban adolescents were higher on family members who were overweight/obese, and exercise norms. Suggestions for enhancing exercise behavior include developing interventions that promote optimism, provide exercise role models, and exercise norms. With the limitation of eating-behavior instruments, the eating-behavior tools were suggested to develop to fit the Thai people. Funded by the Thai Government. |
en |