DSpace Repository

การศึกษาระดับศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงอาหารของชุมชนท่องเที่ยว ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก

Show simple item record

dc.contributor.author วรรณภา อุดมผล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะการจัดการและการท่องเที่ยว th
dc.date.accessioned 2023-02-13T03:52:51Z
dc.date.available 2023-02-13T03:52:51Z
dc.date.issued 2565
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/5123
dc.description การศึกษาระดับศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงอาหารของชุมชนท่องเที่ยวในเขตพื้นที่ภาค ตะวันออก เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับศักยภาพการท่องเที่ยวเชิง อาหารในชุมชนการท่องเที่ยวในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก 2) เพื่อศึกษาระดับความสนใจของ นักท่องเที่ยวต่อการท่องเที่ยวเชิงอาหารในชุมชนการท่องเที่ยวในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก 3) เพื่อ พัฒนาเครื่องมือในการวัดระดับความสนใจต่อการท่องเที่ยวเชิงอาหาร โดยผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูล จากแบบสอบถามจากนักท่องเที่ยวที่เคยเดินทางไปท่องเที่ยวในรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงอาหาร ใน เขตพื้นที่ภาคตะวันออก จ านวน 449 ชุด โดยท าการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis : EFA) เพื่อจัดกลุ่มตัวชี้วัด โดยใช้การยืนยันจากค่าสถิติของระดับการท่องเที่ยวเชิง อาหาร และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) เพื่อใช้สถิติ ตรวจสอบเครื่องมือที่ได้มาจากการวิเคราะห์องประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ ของความสนใจของนักท่องเที่ยวต่อระดับการ ท่องเที่ยวเชิงอาหารของชุมชนท่องเที่ยวในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกจากทั้งหมด 41 ตัวแปรสังเกต โดย ใช้ค่าน้ำหนัก (factor loading) มากเกิน 0.5 เป็นเกณฑ์ พบว่า มีเพียง 15 ตัวแปรสังเกต เป็นตัวแปร ที่คงเหลือและมีความสำคัญที่จะน าไปวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ในกระบวนการถัดไป และได้ องค์ประกอบทั้งหมด 4 องค์ประกอบ ได้แก่ การท่องเที่ยวที่มองอาหารในภาพรวม (Culinary Tourism) การท่องเที่ยวแบบชนบท (Rural Tourism) การท่องเที่ยวเชิงอาหารที่เป็นการเดินทางถึง จุดหมายปลายทาง (Cuisine Tourism) และการท่องเที่ยวเชิงอาหาร (Gourmet) เมื่อพิจารณาค่า น้ำหนักขององค์ประกอบพบว่า กลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญ การท่องเที่ยวที่มองอาหารในภาพรวม (Culinary Tourism) มากที่สุด รองลงมาเป็นการท่องเที่ยวแบบชนบท (Rural Tourism) การ ท่องเที่ยวเชิงอาหารที่เป็นการเดินทางถึงจุดหมายปลายทาง (Cuisine Tourism) และการท่องเที่ยว เชิงอาหาร (Gourmet) ตามลำดับ และเมื่อนำมาทำการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) เพื่อใช้ตรวจสอบเครื่องมือวัดที่ได้มาจากการวิเคราะห์อง ประกอบเชิงสำรวจ ผลการวิเคราะห์ได้องค์ประกอบจำนวน 4 องค์ประกอบ และมีตัวแปรที่สังเกตได้ 15 ตัว ซึ่งสอดคล้องกัน th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากคณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.publisher คณะการจัดการและการท่องเที่่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.title การศึกษาระดับศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงอาหารของชุมชนท่องเที่ยว ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก th_TH
dc.title.alternative A study of the Level of Food Tourism Potential for Community Based Tourism in the Eastern Region en
dc.type Research th_TH
dc.author.email wannapau@go.buu.ac.th en
dc.year 2565 th_TH
dc.description.abstractalternative A study of the Level of Food Tourism Potential for Community Based Tourism in the Eastern Region was quantitative research. The objectives of this study were 1) to study the food tourism potential level of tourism communities in the eastern region 2) to study the tourists’ interest level toward food tourism in the eastern tourism community 3) to develop a tool to measure the level of tourists’ interest toward food tourism. The researcher used the survey questionnaire as a main tool to collect data from tourists who traveled for food tourism in the region. The total set of 449 questionnaires was administered. An exploratory factor analysis (EFA) was conducted to group 41 indicators or attributes into the individual component by using the confirmed statistical values of food tourism levels. The results showed that only 15 important observed variables were retained, the factor loading value of over 0.50 was used to determine the remaining variables and indicated the importance of further relationship analysis. The remaining variables were distributed into four components: 1) culinary tourism, 2) rural tourism, 3) cuisine tourism and 4) gourmet tourism. Considering the factor loading valuesof each component, the sample gave the most importance to culinary tourism, followed by rural tourism, cuisine tourism and gourmet tourism, respectively. Then a confirmatory factor analysis (CFA) was employed to reconfirm the result of exploratory factor analysis which demonstrated the4 components,and 15 observed variables were consistent. en
dc.keyword การท่องเที่ยว th_TH
dc.keyword การท่องเที่ยวเชิงอาหาร th_TH
dc.keyword ไทย (ภาคตะวันออก) th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account