dc.contributor.author |
อุไรวรรณ อินทมาโส |
|
dc.date.accessioned |
2023-02-10T09:09:16Z |
|
dc.date.available |
2023-02-10T09:09:16Z |
|
dc.date.issued |
2551 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/5121 |
|
dc.description |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ที่เป็นเงินอุดหนุนจากรัฐบาลลักษณะงานวิจัยและพัฒนาถ่ายทอดเทคโนโลยี งบประมาณ ปี 2550-51 |
th_TH |
dc.description.abstract |
ไวรัสตับอักเสบชนิดเอเป็นไวรัสที่สำคัญชนิดหนึ่งที่มักติดต่อสู่คนผ่านการบริโภคหอยนางรมสดในเขตชายฝั่งตะวันออก การตรวจหาไวรัสในหอยนางรมสดก่อนที่จะไปถึงมือผู้บริโภค อาจมีประโยชน์ในเชิงป้องกันโรคได้ จากงานวิจัยนี้ได้นำเทคนิค RT-PCR มาใช้ตรวจหาไวรัสตับอักเสบเอในหอยนางรมสายพันธุ์ Saccostrea commercialis ที่เพาะเลี้ยงตามชายฝั่งทะเลในเขตจังหวัดชลบุรี โดยสกัดสารพันธุกรรมของไวรัสด้วยวิธี Acid-adsorption alkaline elution และนำสารพันธุกรรมของไวรัสมาขยายเพิ่มจำนวนด้วย primer ที่ออกแบบไว้ จากการทดลองพบว่า มีการปรากฎแถบ cDNA เพียง 1 แถบที่มีความยาวนิวคลีโอไทด์ ประมาณ 242 bp ตามที่คาดไว้ และไม่ปรากฎแถบของ cDNA เมื่อใช้สารพันธุกรรมของไวรัสชนิดอื่นที่ติดต่อผ่านทางอาหาร เมื่อตรวจสอบหอยนางรมที่เก็บมาเป็นเวลา 6 เดือนในเนื้อหรือกระเพาะอาหาร พบแถบ cDNA แต่เมื่อนำไปพิสูจน์ความจำเพาะของแถบ cDNA ที่เกิดขึ้นด้วยวิธี Southern blot hybridization ไม่มีการปรากฎของสัญญาณ จากการทดลองจะเห็นได้ว่าวิธี RT-PCR นั้นแม้มีความไวสูง แต่อาจทำให้เกิดผลบวกปลอมได้ซึ่งจำเป็นต้องมีการยืนยันผลด้วยวิธี Southern blot hybridization ก่อนถึงจะสามารถใช้ในการตรวจสอบการปนเปื้อนสารพันธุกรรมของไวรัสหอยนางรมได้ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ไวรัสตับอักเสบเอ |
th_TH |
dc.subject |
หอยนางรม - - การปนเปื้อน |
th_TH |
dc.subject |
การปนเปื้อนในอาหาร |
th_TH |
dc.subject |
หอยนางรม - - จุลชีพก่อโรค |
th_TH |
dc.title |
การตรวจสอบการปนเปื้อนไวรัสตับอักเสบชนิดเอในหอยนางรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก |
th_TH |
dc.title.alternative |
Detection of Hepatitis A Viruses in Oysters Cultured in the East Coast of Thailand |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
uraiwani@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2551 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Hepatitis A virus (HAV) is one of the important viruses that infect people via consuming fresh oysters in the East Coast of Thailand. The detection of fresh oysters prior to selling consumers is considered to provide protection against diseases. In this study, RT-PCR was performed to detect HAV in fresh oysters cultured along the coast in Jantaburi Province of Thailand. Nucleic acid of the virus was extracted with acid-adsorption alkaline elution method and then amplified with the designed primers. The result showed only I cDNA band at 242 bpnucleotide length as expected but not in the other enteric viruses. Detection of HAV in oyster meat or gut harvested for 6 months displayed cDNA bands but no hybridization signal. These results indicate that RT-PCR is a very sensitive method that may cause false positive results. Thus, RT-PCR protocol requires hybridization step for the detection of viral contamination of oysters. |
th_TH |